รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

1.1_1 ร้อยละความสำเร็จของการผลักดันให้หน่วยงานดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากการลงพื้นที่ผู้ว่าฯ สัญจรประจำเขต : 0200-921

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

-เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หมายถึง เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่มีมาถึงสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แยกประเภทเรื่องร้องเรียน จำนวน 23 เรื่อง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

- นโยบายผู้ว่าฯ สัญจรประจำเขต มีจุดประสงค์เพื่อเวียนไปรับฟังปัญหาและร่วมประชุมกับสำนักงานเขต รวมถึงการลงพื้นที่เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนให้ครบทั้ง 50 เขต ดังนั้น ผู้ว่าฯ กทม. จะสัญจรไปประชุมกับสำนักงานเขตอย่างน้อย 50 เขตภายใน 1 ปี และเดินสัญจรพื้นที่ในเขตนั้น ๆ เพื่อรับฟังปัญหาหรือข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน ร้องทุกข์จากประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ผู้ว่าฯ เข้าถึงความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง และเป็นการกระจายอำนาจจากภาครัฐสู่ท้องถิ่น

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-การผลักดันให้หน่วยงานดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากการลงพื้นที่ผู้ว่าฯ สัญจร ประจำเขต หมายถึง เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่ได้รับแจ้งจากประชาชนในพื้นที่ จากการเดินสัญจรในพื้นที่ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 รับเรื่องร้องเรียนจากการติดตามการลงพื้นที่ผู้ว่าฯ สัญจร ประจำเขต ขั้นตอนที่ 2 เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาต่อผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบส่งหน่วยงานดำเนินการ ขั้นตอนที่ 3 แจ้งหน่วยงานพิจารณาดำเนินการตามข้อเสนอ ขั้นตอนที่ 4 ติดตามการแก้ไขปัญหาของหน่วยงาน (3 เดือน หลังจากมีหนังสือแจ้งแนวทางแก้ไขปัญหาฯ) ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผลการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานพร้อมให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินการ (2 ครั้ง/ปี) และนำเรียนให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๕ –ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
:๕.๑ - มหานครกรุงเทพแบบบูรณาการ
:๕.๑.๑ เครือข่ายความร่วมมือในการจัดบริการสาธารณะ%
:๕.๑.๑.๑ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการสาธารณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง