ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 82.66
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ใน 6 หมวดรายจ่าย ดังนี้ หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดค่าสาธารณูโภค หมวดรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 22 ธันวาคม 2563
ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ใน 6 หมวดรายจ่าย ดังนี้ หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดค่าสาธารณูโภค หมวดรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 22 มีนาคม 2564
ไตรมาส 3 : ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ใน 6 หมวดรายจ่าย ดังนี้ หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดค่าสาธารณูโภค หมวดรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 24 มิถุนายน 2564 ไตรมาส 4 : ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ใน 6 หมวดรายจ่าย ดังนี้ หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดค่าสาธารณูโภค หมวดรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ใน 6 หมวดรายจ่าย ดังนี้ หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดค่าสาธารณูโภค หมวดรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณพ.ศ. 2564) 2. จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณพ.ศ. 2564) 3. งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณพ.ศ. 2564) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดำเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงินโครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป
ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม (จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 / งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564) X 100 = ก%
1.ข้อมูลจากตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 2. จำแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมินและกำหนดค่าเป้าหมายของแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากภารกิจของหน่วยงาน และผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของแต่ละกลุ่มหน่วยงาน 2.1 กลุ่มหน่วยงาน A สำนักที่มีภารกิจงานอำนวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90 2.2 กลุ่มหน่วยงาน B สำนักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ แต่ไม่มีโครงการขนาดใหญ่ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 79.73 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับร้อยละ 75 2.3 กลุ่มหน่วยงาน C สำนักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ และมีโครงการขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 66.77 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 65 2.4 กลุ่มหน่วยงาน D สำนักงานเขต มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 91.36 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |