รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม : 0300-848

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.36

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.91

0 / 0
2
35.98

0 / 0
3
45.24

0 / 0
4
99.36

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใน 4 งบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 29 ธันวาคม 2565 รวมเป็นจำนวนเงิน 5,108,466.84 บาท (ร้อยละ 4.91)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใน 4 งบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566 รวมเป็นจำนวนเงิน 37,444,906.27 บาท (ร้อยละ 35.98)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใน 4 งบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 28 มิถุนายน 2566 รวมเป็นจำนวนเงิน 45,828,018.59 บาท (ร้อยละ 45.24)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใน 4 งบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบรายจ่ายอื่น และงบกลาง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566 รวมเป็นจำนวนเงิน 150,985,476.97 บาท (ร้อยละ 99.36)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 โดยไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเภท งบบุคลากร งบกลาง ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบบุคลากร ได้แก่ รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง รายการเงินสำรองสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร รายการเงินช่วยค่าครองชีพผู้ได้รับบำนาญของกรุงเทพมหานคร และรายการเงินสำรองสำหรับจ่ายเป็นเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. จำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 โดยไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเภทงบบุคลากร งบกลาง ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบบุคลากร ได้แก่ รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการ และลูกจ้าง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง รายการเงินสำรองสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร รายการเงินช่วย ค่าครองชีพผู้ได้รับบำนาญของกรุงเทพมหานคร และรายการเงินสำรองสำหรับจ่ายเป็นเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 โดยไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเภทงบบุคลากร งบกลาง ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบบุคลากร ได้แก่ รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง รายการเงินสำรองสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร รายการเงินช่วยค่าครองชีพผู้ได้รับบำนาญ ของกรุงเทพมหานคร และรายการเงินสำรองสำหรับจ่ายเป็นเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แนวทางในการดำเนินการ 1. จำแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมิน โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงาน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 3 ปีย้อนหลังเพิ่มขึ้นและลดลง มีหน่วยงานที่ต้องรับ การประเมิน ประกอบด้วย 33 หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ กลุ่มที่ 2 กลุ่มผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 3 ปีย้อนหลังเพิ่มขึ้น มีหน่วยงานที่ต้องรับการประเมินประกอบด้วย 20 หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ กลุ่มที่ 3 กลุ่มผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 3 ปีย้อนหลังลดลง มีหน่วยงานที่ต้องรับการประเมินประกอบด้วย 3 หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ กลุ่มที่ 4 กลุ่มผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 3 ปีย้อนหลัง เคยทำได้ร้อยละ 100 และผลการดำเนินงาน ที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงาน ก.ก. ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มที่ 3

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 หารด้วย งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 คูณ 100 = ก% และ นำร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมที่ได้ (ก%) มาเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร จะตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณ จากระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร หากระบบสารสนเทศฯ ขัดข้อง ไม่สามารถเข้าตรวจสอบข้อมูล ได้ ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณ ไว้ที่หน่วยงาน พร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการประเมินผล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง