ค่าเป้าหมาย คะแนน : 10
ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำเดือนธันวาคม ของสำนักงานปกครองและทะเบียน
อยู่ระหว่างขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำเดือนมีนาคม 2564 ของสำนักงานปกครองและทะเบียน
อยู่ระหว่างขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำเดือนมิถุนายน 2564 ของสำนักงานปกครองและทะเบียน
1. สำนักงานปกครองและทะเบียน ได้รับการจำแนกกลุ่มข้อมูลผู้รับการประเมินและกำหนดค่าเป้าหมาย โดยพิจารณาจากภารกิจ และผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกลุ่มหน่วยงาน A สำนักที่มีภารกิจงาน อำนวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัด ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90 2. ผลรวมจำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่าย ประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) เท่ากับ หมวดรายจ่าย งบประมาณ งบประมาณหลังปรับโอน เบิกจ่ายจริง ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 3,021,400.00 2,831,400.00 1,339,968.18 ค่าสาธารณูปโภค 442,300.00 442,300.00 282,202.30 ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 1,364,000.00 1,360,000.00 1,360,000.00 เงินอุดหนุน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 รายจ่ายอื่น 91,488,140.00 91,488,140.00 483,846.99 รวม 97,065,840.00 96,871,840.00 4,216,017.47 ** ข้อมูลจากรายงาน สรุปการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2564 (1 ต.ค. 63 – 15 ก.ย. 64) 3. งบประมาณรายจ่ายประจำปี ประจำปี พ.ศ. 2564 หลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และ หมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภท ที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการ และลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) เท่ากับ หมวดรายจ่าย งบประมาณหลังปรับโอน เบิกจ่ายจริง คิดเป็นร้อยละ ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 2,831,400.00 1,339,968.18 47.33 ค่าสาธารณูปโภค 442,300.00 282,202.30 63.80 ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 1,360,000.00 1,360,000.00 100 เงินอุดหนุน 750,000.00 750,000.00 100 รายจ่ายอื่น 91,488,140.00 483,846.99 0.53 รวม 96,871,840.00 4,216,017.47 4.35 ** ข้อมูลจากรายงาน สรุปการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2564 (1 ต.ค. 63 – 15 ก.ย. 64) 4. สำนักงานปกครองและทะเบียน มีหนังสือถึงสำนักงาบประมาณกรุงเทพมหานคร เพื่อขอโอนเงินเข้างบกลาง ซึ่งอยู่ระหว่างการดำเนินการของสำนักงานปกครองและทะเบียน จำนวน 2 ฉบับ ดังนี้ 4.1 หนังสือสำนักงานปกครองและทะเบียน ที่ กท 0406/1733 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2564 ขอโอนเงินประจำปี พ.ศ. 2563 เข้างบกลาง ครั้งที่ 99 รายการขออนุมัติโครงการจัดงานละศีล-อด เข้างบกลาง จำนวน 646,340 บาท เนื่องจากยกเลิกโครงการ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4.2 หนังสือสำนักงานปกครองและทะเบียน ที่ กท 0406/4789 ลงวันที่ 3 กันยายน 2564 ขอโอนคืนเงินเหลือจ่ายเข้างบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายทั่วไป กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ครั้งที่ 195 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 90,979,616 บาท ดังนี้ 1) ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานฝ่ายปกครอง มีเงินประจำงวด จำนวน 103,800 บาท 2) ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและดูงานหลักสูตรบริหารงานทะเบียน มีเงินประจำงวด จำนวน 97,450 บาท ไม่มีเงินประจำงวด จำนวน 61,200 บาท 3) ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาและดูงานเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานด้านการทะเบียนของกรุงเทพมหานคร มีเงินประจำงวด จำนวน 20,200 บาท ไม่มีเงินประจำงวด จำนวน 165,200 บาท 4) ค่าใช้จ่ายในการจัดพิธีรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ การมอบประกาศเกียรติคุณ และเครื่องหมายเชิดชูเกียรติแก่ผู้ทำคุณประโยชน์แก่กรุงเทพมหานคร มีเงินประจำงวด จำนวน 67,426 บาท 5) ค่าใช้จ่ายในการจัดงานละศีล-อด มีเงินประจำงวด จำนวน 646,340 บาท 6) ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ไม่มีเงินประจำงวด จำนวน 90,000,000 บาท
1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงิน ช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุน จากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 2. จ้านวนเงินงบประจ้าปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 3. งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดำเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงิน โครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป
จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หาร งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 คูณ หนึ่งร้อย เท่ากับ ก%
1. ข้อมูลจากตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 2. จำแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมินและกำหนดค่าเป้าหมายของแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากภารกิจของหน่วยงาน และผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่าย งบประมาณในภาพรวมของแต่ละกลุ่มหน่วยงาน 2.1 กลุ่มหน่วยงาน A สำนักที่มีภารกิจงานอำนวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัด ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90 2.2 กลุ่มหน่วยงาน B สำนักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ แต่ไม่มีโครงการขนาดใหญ่ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 79.73 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับร้อยละ 75 2.3 กลุ่มหน่วยงาน C สำนักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ และมีโครงการขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ย ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 66.77 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 65 2.4 กลุ่มหน่วยงาน D สำนักงานเขต มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 91.36 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๔ ปรับปรุงมาตรฐานและแนวปฏิบัติด้านการเงินการบัญชี และการตรวจสอบ |