รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

สปท.7/ความสำเร็จในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานปกครองและทะเบียน : 0406-2036

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 80

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

0 / 0
2
60.00

0 / 0
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยู่ระหว่างการเข้าร่วมประชุมออนไลน์รับฟังหลักเกณฑ์ แนวทางการดำเนินการตัวชี้วัด "ความสำเร็จในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่สำนักงาน ก.ก. จัดขึ้น เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2566 เวลา 09.30 น. 2. สำนักงานปกครองและทะเบียนจัดทำกิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร เพื่อเด็กไทยไม่ไร้สิทธิ เสนอคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว 3. สำนักงานปกครองและทะเบียน ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครให้ดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร เพื่อเด็กไทยไม่ไร้สิทธิ เรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. สำนักงานปกครองและทะเบียน อยู่ระหว่างดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร เพื่อเด็กไทยไม่ไร้สิทธิ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1 นวัตกรรมที่พัฒนา คือ กระบวนการในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร (ไม่มีเลขประจำตัว 13 หลัก) ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรม ตัวชี้วัดที่ 3 ประโยชน์ของนวัตกรรม ได้แก่ นักเรียนได้รับการรวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และส่งต่อให้สำนักงานทะเบียนที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการพิจารณาอนุญาตของเจ้าหน้าที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานปกครองและทะเบียน ดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร เพื่อเด็กไทยไม่ไร้สิทธิ เรียบร้อยแล้ว ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด ซึงมีผลการดำเนินกิจกรรมร ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1 นวัตกรรมที่พัฒนา คือ กระบวนการในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร (ไม่มีเลขประจำตัว 13 หลัก) รายละเอียดการดำเนินงาน : 1. มีการนำหน่วยบริการทะเบียนเคลื่อนที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูลนักเรียนครบถ้วนทั้ง 6 โรงเรียน 2. มีแบบสำรวจและสรุปรายละเอียดของปัญหาแยกเป็นรายบุคคล 3. มีการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลส่งต่อให้สำนักงานเขตที่เกี่ยวข้อง 4. มีการรายงานผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาให้แก่นักเรียนจากสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรม รายละเอียดการดำเนินงาน : มีการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ โดยประเมินผลจากผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีผลการประเมินความพึงพอใจ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 3 ประโยชน์ของนวัตกรรม ได้แก่ นักเรียนได้รับการรวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และส่งต่อให้สำนักงานทะเบียนที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการพิจารณาอนุญาตของเจ้าหน้าที่ รายละเอียดการดำเนินงาน : 1. มีการนำส่งข้อมูลนักเรียนให้สำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องครบทุกราย 2. มีการรายงานผลการดำเนินการของสำนักทะเบียน (เฉพาะที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร) ครบทุกแห่ง มีการนำนวัตกรรมไปใช้ภายในปีงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานปกครองและทะเบียน ดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร เพื่อเด็กไทยไม่ไร้สิทธิ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1 นวัตกรรมที่พัฒนา คือ กระบวนการในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร (ไม่มีเลขประจำตัว 13 หลัก) รายละเอียดการดำเนินงาน : 1. มีการนำหน่วยบริการทะเบียนเคลื่อนที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูลนักเรียนครบถ้วนทั้ง 6 โรงเรียน 2. มีแบบสำรวจและสรุปรายละเอียดของปัญหาแยกเป็นรายบุคคล 3. มีการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลส่งต่อให้สำนักงานเขตที่เกี่ยวข้อง 4. มีการรายงานผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาให้แก่นักเรียนจากสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรม รายละเอียดการดำเนินงาน : มีการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ โดยประเมินผลจากผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีผลการประเมินความพึงพอใจ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 3 ประโยชน์ของนวัตกรรม ได้แก่ นักเรียนได้รับการรวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และส่งต่อให้สำนักงานทะเบียนที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการพิจารณาอนุญาตของเจ้าหน้าที่ รายละเอียดการดำเนินงาน : 1. มีการนำส่งข้อมูลนักเรียนให้สำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องครบทุกราย 2. มีการรายงานผลการดำเนินการของสำนักทะเบียน (เฉพาะที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร) ครบทุกแห่ง มีการนำนวัตกรรมไปใช้ภายในปีงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๑ มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง