รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการสร้างเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร : 0409-0900

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 125

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
125.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.กิจกรรมการสร้างคลังความรู้สู่ความเป็นเลิศ (Building Knowledge based Communities to Achieve Performance Excellence) อยู่ระหว่างขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเพื่อจัดเตรียมโครงการ เวียนขอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน และสำรวจหัวข้อองค์ความรู้ที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน 2.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Self-Directed & Life Long Learning) เพื่อการพัฒนารายบุคคลและการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ อยู่ระหว่างขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเพื่อจัดเตรียมโครงการ เวียนขอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน และกำหนดสมรรถนะประจำสายงานของบุคลากรในสพข.เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการสำรวจ 3.กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล อยู่ระหว่างขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเพื่อจัดเตรียมโครงการ เวียนขอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน และศึกษานวัตกรรม เทคโนโลยีที่ใช้ในการบริหารงานบุคคล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. กิจกรรมการสร้างคลังความรู้สู่ความเป็นเลิศ (Building Knowledge based Communities to Achieve Performance Excellence) อยู่ระหว่างขั้นตอนการกำหนดรูปแบบการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสรุปหัวข้อในการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดผู้ถ่ายทอดความรู้ตามหัวข้อที่สำรวจ 2.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Self-Directed & Life Long Learning) เพื่อการพัฒนารายบุคคลและการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ อยู่ระหว่างขั้นตอนการวิเคราะห์สมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานในสพข. สรุปผลการวิเคราะห์สมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานในสพข. และออกแบบเครื่องมือประเมินระดับความสามารถ 3.กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล อยู่ระหว่างขั้นตอนการประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม วางแผนการดำเนินกิจกรรม และวางแผน/ออกแบบระบบออนไลน์เพื่อใช้ในการบริหารความรู้ และกำหนดหัวข้อการแลกเปลี่ยน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กิจกรรมการสร้างคลังความรู้สู่ความเป็นเลิศ (Building Knowledge based Communities to Achieve Performance Excellence) ดำเนินการถ่ายทอดความรู้ครั้งที่ 1 เรื่องการสร้างและพัฒนาหลักสูตร ครั้งที่ 2 เรื่องการเขียนหนังสือราชการ ครั้งที่ 3 เรื่องการบริหารโครงการ 2.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Self-Directed & Life Long Learning) เพื่อการพัฒนารายบุคคลและการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ อยู่ระหว่างขั้นตอนการสำรวจระดับความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน การประเมินระดับความสามารถโดยเทียบกับสมรรถนะของตำแหน่งและกำหนดหัวข้อเนื้อหาความรู้ตามสมรรถนะ การจัดทำเนื้อหาตามสมรรถนะและเผยแพร่ผ่านระบบออนไลน์ 3.กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล อยู่ระหว่างขั้นตอนกำหนดวิธีการและผู้ถ่ายทอดความรู้ การเตรียมเนื้อหาและร่างแผนการใช้นวัตกรรมเพื่อนำเข้าสู่การประชุมกลุ่มเพื่อร่วมกันนำเสนอแนวทางการพัฒนาโครงการ และดำเนินการถ่ายทอดความรู้ ประชุมกลุ่มเพื่อแสดงความคิดเห็น จำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัดทั้ง 3 กิจกรรม โดยเป็นความสำเร็จของการสร้างเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งผลความสำเร็จคิดเป็นร้อยละ 125 (เป้าหมายร้อยละ 80)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความสำเร็จของการสร้างเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง ๓ กิจกรรม ประเมินว่านวัตกรรมและความรู้ที่จัดทำขึ้นสามารถใช้เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลได้ ในระดับมากขึ้นไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(จำนวนกิจกรรมที่ผ่านการประเมินในระดับมากขึ้นไป x 100)/จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

แบบประเมินผลความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง ๓ กิจกรรม ๑. กิจกรรมการสร้างคลังความรู้สู่ความเป็นเลิศ (Building Knowledge based Communities to Achieve Performance Excellence) ๒. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Self-Directed & Life Long Learning) เพื่อการพัฒนารายบุคคลและการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ ๓. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่%
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง