ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 70.991
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างการออกแบบชุดข้อมูลแบบสอบถามเพื่อทำการทดสอบทอดแบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด ก่อนดำเนินการทอดแบบจริง
31/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง และกำหนดรายละเอียดเพื่อจัดทำแผนการการดำเนินงาน 2. การออกแบบชุดข้อมูลแบบสอบถามเพื่อทำการทดสอบทอดแบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด ก่อนดำเนินการทอดแบบจริง 29/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง และกำหนดรายละเอียดเพื่อจัดทำแผนการการดำเนินงาน 2. การออกแบบชุดข้อมูลแบบสอบถามเพื่อทำการทดสอบทอดแบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด ก่อนดำเนินการทอดแบบจริง 31/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง และกำหนดรายละเอียดเพื่อจัดทำแผนการการดำเนินงาน 2. การออกแบบชุดข้อมูลแบบสอบถามเพื่อทำการทดสอบทอดแบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด ก่อนดำเนินการทอดแบบจริง
30/4/2563 : อยู่ระหว่างกำหนดขอบเขตของงาน (TOR) 29/5/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนสืบราคาและอยู่ระหว่างจัดทำขอบเขตงานจ้างงาน (Term of Reference : TOR) กิจกรรมสำรวจการรับรู้ของประชาชนชาวกรุงเทพมหานครต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ของสำนักงานประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อประกอบการจัดซื้อจัดจ้าง 30/6/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน 1. สืบราคาและจัดทำขอบเขตงานจ้างงาน (Term of Reference : TOR) กิจกรรมสำรวจการรับรู้ของประชาชนชาวกรุงเทพมหานครต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ของสำนักงานประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว 2. อยู่ระหว่างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
31/7/2563 ได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการทอดแบบสำรวจกับประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 31/8/2563 ดำเนินการทอดแบบสำรวจกับประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างสรุปผลสำรวจแบบสอบถาม 29/9/2563 ดำเนินการสำรวจการรับรู้ของประชาชนชาวกรุงเทพมหานครต่อการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของสำนักงานประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ ระหว่างวันที่ 2 กรกฎาคม ถึง 28 สิงหาคม 2563 ขอบเขตด้านประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งหมายถึงประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การสุ่มตัวอย่างให้เป็นไปตามหลักวิชาการ จำนวน 2,000 คน โดยแบ่งกลุ่มตามภูมิประชากรศาสตร์ (Demographics) ต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ การรับรู้เกี่ยวกับการทำงาน/นโยบายของกรุงเทพมหานคร ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (2556-2575) โดยใช้โครงสร้างคำถามที่สอดคล้องกับนโยบายที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเพื่อการบริการประชาชนในด้านต่างๆ ได้แก่ 1. มหานครปลอดภัย 2. มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 3. มหานครสำหรับทุกคน 4. มหานครกระชับ 5. มหานครประชาธิปไตย 6. มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ ซึ่งผลการสำรวจโดยภาพรวม ประชาชนชาวกรุงเทพมหานครมีความรับรู้ถึงการดำเนินงาน โครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ในระดับร้อยละ 70.991
นิยาม การรับรู้ หมายถึง ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานของกรุงเทพมหานครที่เผยแพร่ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ที่สำนักงานประชาสัมพันธ์ดำเนินการตามโครงการค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมของกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 2,000 คน ** การกำหนดจำนวนตัวอย่างโดยใช้วิธีการของ Taro Yamane จากจำนวนประชากรกรุงเทพมหานครทั้งหมด 5,682,415 คน (ข้อมูลจากระบบสถิติทางการทะเบียน http:/stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php สืบค้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561) ทั้งที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์ และอยู่ระหว่างการย้ายทะเบียน ค่าความคลาดเคลื่อนที่ 3%
วิธีการคำนวณ 1. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการตามโครงการการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร 2. สำรวจการรับรู้จากประชาชนที่อาศัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 2,000 คน ** การกำหนดจำนวนตัวอย่างโดยใช้วิธีการของ Taro Yamane จากจำนวนประชากรกรุงเทพมหานครทั้งหมด 5,682,415 คน (ข้อมูลจากระบบสถิติทางการทะเบียน http:/stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php สืบค้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561) ทั้งที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์ และอยู่ระหว่างการย้ายทะเบียน ค่าความคลาดเคลื่อนที่ 3%
เอกสารหลักฐาน 1. แบบสอบถามการรับรู้ผลการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2,000 ชุด 2. รายงานสรุปผลการรับรู้ของประชาชนเสนอผู้บริหาร และนำผลไปปรับปรุง
:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City |
:๕.๔ - การเมืองสีขาว |
:๕.๔.๑ ประชาชนมีความเชื่อมั่นในข้าราชการและผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมืองของกรุงเทพมหานคร% |
:๕.๔.๑.๑ ประชาชนมีความเชื่อมั่นในหน่วยงานและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง |