ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 35
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 54.11
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างการประชาสัมพันธ์บุคลากรในสังกัดเพื่อเชิญชวนผลิตผลงานนวัตกรรม
-อยู่ระหว่างส่วนราชการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งผลงานนวัตกรรม วิจัย R2R
-ผลการดำเนินงานการนำผลงานวิจัย นวัตกรรม R2R ไปใช้ในส่วนราชการ ดังนี้ ผลงานวิจัย จำนวน 19 ผลงาน ผลงานนวัตกรรม จำนวน 20 ผลงาน ผลงาน R2R จำนวน 2 ผลงาน รวมทั้งสิ้น 41 ผลงาน มีการนำผลงานไปใช้ จำนวน 21 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 51.22
-สำนักการแพทย์ ในฐานะหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากดำเนินภารกิจด้านการรักษาพยาบาลแล้ว การพัฒนาองค์ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขถือเป็นภารกิจที่สำนักการแพทย์ให้ความสำคัญ ทั้งการสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรม และ R2R ที่จะสามารถนำมาพัฒนาการให้บริการประชาชนได้ และในปัจจุบันสำนักการแพทย์เป็นสถาบันร่วมสอนเพื่อผลิตแพทย์ ทั้งในระดับปริญญาและหลังปริญญา ซึ่งบุคลากรของสำนักการแพทย์ต้องถูกส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องทั้งการสอน รักษา และค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลของบุคลาการทางการแพทย์ให้เทียบเท่าโรงเรียนแพทย์ สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการให้ส่วนราชการจัดทำผลงานวิจัย / นวัตกรรม / R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งผลการดำเนินการมีดังนี้ 1. ผลงานวิจัย จำนวน 40 ผลงาน 2. ผลงานนวัตกรรม จำนวน 43 ผลงาน 3. ผลงาน R2R จำนวน 2 ผลงาน ซึ่งจากการผลิตผลงานดังกล่าว พบว่ามีการนำผลงานวิจัย/ นวัตกรรม/R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ผลงานถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 46 ผลงาน 2. ผลงานไม่ถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 39 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 54.11
ผลงานวิจัย/Innovation/R2R/ที่นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลงานวิจัย/Innovation/R2R ของบุคลากรในสังกัดสำนักการแพทย์ที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการเพื่อนำเสนอในการสัมมนาวิชาการประจำปีสำนักการแพทย์ในรอบปีที่ผ่านมา หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันและนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน
จำนวนผลงานวิจัย /Innovation/R2R ที่นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน หารด้วย จำนวนผลงานวิจัย /Innovation/R2R ที่นำเสนอในงานสัมมาวิชาการประจำปีครั้งที่ 18 สำนักการแพทย์ หรือกิจกรรมอื่นๆที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน คูณด้วย 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ% |
:๑.๖.๓.๑ พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ |