รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี (Geriatric Syndrome) : 0700-874

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 75

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและผู้สูงอายุในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ 2. การคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ หมายถึง การบริการตรวจคัดกรอง ดังนี้ 1) ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2) ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living: ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Mini cog และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้าม เนื้อมือ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและผู้สูงอายุในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ หารด้วย จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและผู้สูงอายุในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง