รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละความครอบคลุมของการรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ : 0700-934

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 91

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักการแพทย์ ได้มีการส่งแบบสำรวจความต้องการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของบุคลากรประจำปี 2566 ไปยังสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง เพื่อรอรับการจัดสรร และในส่วนของประชาชนจะมีจัดสรรจากกรมควบคุมโรคในช่วงการรณรงค์ประมาณเดือนพฤษภาคม 2566

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความครอบคลุม หมายถึง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการและบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานครได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย หญิงตั้งครรภ์ 4เดือนขึ้นไป เด็กอายุ 6เดือนถึง2ปีทุกคน ผู้มีโรคเรื้อรัง บุคคลที่มีอายุ 65ปีทุกคน ผู้พิการทางสมอง ธาลัสซีเมียและผู้ติดเชื้อHIV โรคอ้วน(BMI >35,น้ำหนัก>100กิโลกรัม) บุคลากรที่มีความเสี่ยง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ หารด้วย จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการจัดสรรจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขและสปสช. คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลที่คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง