รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น : 0800-6615

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
79.34
0
0 / 0
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรับแจ้งข่าวและลงสอบสวนโรค COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานสอบสวนโรคดำเนินการเรียบร้อยแล้ว x 100 / ยอดทั้งหมดของรายงานสอบสวนโรค 845x100/1,065 = 79.34

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามกระบวนการ ดังนี้- รับแจ้งข้อมูลผู้ป่วย ผู้สัมผัส - ติดตามข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - จัดทำฐานข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยผู้สัมผัส - จัดทำรายงานสถานการณ์ - ปฏิบัติการสอบสวนโรคในพื้นที่ - จัดทำรายงานสอบสวนโรค - ติดตามการสอบสวนโรคและรายงานสอบสวนโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) ตามที่นำเสนอต่อที่ประชุม ศบค.กทม. ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น จำนวน 220 Cluster

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) 220 x 100/220 = 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโลนา 2019 หมายถึง ผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยพบเชื้อโควิด-19 ด้วยการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธี RT PCR จากโปรแกรม epi-net การสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น หมายถึง กระบวนการ การค้นหาข้อมูลการติดเชื้อของผู้ป่วย ข้อมูลการเดินทางในระยะเวลา 14 วันย้อนหลัง โดยนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาสรุป เพื่อดำเนินการแยกผู้สัมผัสเสี่ยงสูงมาเก็บสิ่งส่งตรวจและส่งเข้าที่กักกันโรค และติดตามผู้สัมผัสเสี่ยงต่ำเป็นเวลา 14 วัน ประกอบด้วย 1. ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วย 2. ประวัติการเดินทาง 3. การสำรวจสภาพแวดล้อม 4. ผลการค้นหาผู้สัมผัส 5. กิจกรรมที่ดำเนินการไป 6. ข้อเสนอแนะและกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพิ่มเติม EPi-net ระบบรายงานข้อมูลผู้ป่วยทางระบาดวิทยาที่ทุกโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครต้องรายงานโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัยทราบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้ป่วยโควิด-19 ที่ได้รับการสอบสวนโรค X 100 หารด้วย จำนวนผู้ป่วยโควิด-19 ที่อยู่ในระบบ Epi-net ทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รายงานสอบสวนโรคเบื้องต้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง