รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึง การติดตาม (Retention Rate) (ผลลัพธ์) : 0800-6704

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 60

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 33.12

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
37.62

0 / 0
2
37.62

0 / 0
3
34.67

0 / 0
4
33.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา และได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จำนวน 269 ราย จากผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่ได้รับการจำหน่ายทั้งหมด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต ปรับเปลี่ยนการบำบัดรักษา หรือบำบัดโดยเมทาโดน จำนวน 715 ราย ร้อยละ 37.62

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา และได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จำนวน 269 ราย จากผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่ได้รับการจำหน่ายทั้งหมด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต ปรับเปลี่ยนการบำบัดรักษา หรือบำบัดโดยเมทาโดน จำนวน 715 ราย ร้อยละ 37.62

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา และได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จำนวน 458 ราย จากผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่ได้รับการจำหน่ายทั้งหมด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต ปรับเปลี่ยนการบำบัดรักษา หรือบำบัดโดยเมทาโดน จำนวน 1321 ราย ร้อยละ 34.67

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา และได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จำนวน 623 ราย จากผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่ได้รับการจำหน่ายทั้งหมด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต ปรับเปลี่ยนการบำบัดรักษา หรือบำบัดโดยเมทาโดน จำนวน 1,881 ราย ร้อยละ 33.12 ปัญหา/อุปสรรค : - ผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดไม่ครบตามกระบวนการ - ผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดติดตามแล้วติดต่อไม่ได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา หมายถึง ผู้ป่วยยาเสพติด ทุกระดับความรุนแรงที่เข้ารับการบำบัดในระบบสมัคร ใจ (ม.113, ม.114) ของสถานพยาบาล สังกัดกรุงเทพมหานคร การดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่อง หมายถึง การดูแลช่วยเหลือ บำบัดฟื้นฟู อย่างรอบด้าน ทั้งด้านกาย จิต สังคม อย่างต่อเนื่อง ตามสภาพปัญหาของผู้ป่วยยาเสพติดเฉพาะราย ตั้งแต่กระบวนการบำบัดฟื้นฟู จนถึงการติดตามดูแลช่วยเหลือตามเกณฑ์มาตรฐาน หลังการบำบัดรักษาอย่างน้อย 1 ปี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ (จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา และได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย x 100) / จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่ได้รับการจำหน่ายทั้งหมด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต ปรับเปลี่ยนการบำบัดรักษา หรือบำบัดโดยเมทาโดน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ%
:๑.๑.๒.๓ บำบัดรักษาฟื้นฟู ติดตามดูแลผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดให้สามารถกลับไป ดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง