ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 89.16
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
2.1. ดำเนินการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษในเนื้อสัตว์ ( เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus) ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 สุ่มตรวจตัวอย่างเนื้อสัตว์รวมทั้งสิ้น 1,426 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,315 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 111 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 91.27 2.2. ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 65 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 69.23
2.1. ดำเนินการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษในเนื้อสัตว์ ( เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus) ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 สุ่มตรวจตัวอย่างเนื้อสัตว์รวมทั้งสิ้น 2,097 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,864 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 233 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 88.89 2.2. ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 115 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 74 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.35
2.1. ดำเนินการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษในเนื้อสัตว์ ( เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus) ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 สุ่มตรวจตัวอย่างเนื้อสัตว์รวมทั้งสิ้น 2,860 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 2,550 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 310ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 89.16 2.2. ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ สะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 151 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 100 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.23
นิยาม เชื้อโรคอาหารเป็นพิษ หมายถึง เชื้อ Staphylococcus aureus และหรือ Salmonella sp. ที่ปนเปื้อนในเนื้อสัตว์ เป็นเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษต่อผู้บริโภคได้ สถานประกอบการ หมายถึง สถานประกอบการที่มีการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ได้แก่ ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท จากฐานข้อมูลของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข เกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ หมายถึง เกณฑ์การตรวจเชื้อโรคอาหาร เป็นพิษ ปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ หมายถึง สถาน-ประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจครั้งก่อนหน้าได้รับคำแนะนำปรับปรุงแก้ไขจนผ่านเกณฑ์การตรวจครั้งต่อไป (เหลื่อมปี) ค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละ 80 ของตัวอย่างเนื้อสัตว์ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษทางห้องปฏิบัติการ 2) ร้อยละ 20 ของสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการได้รับคำแนะนำปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์
วิธีคำนวณ ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษทางห้องปฏิบัติการ คูณ 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ได้รับการสุ่มตรวจทั้งหมด ตัวชี้วัดที่ 2.2 : จำนวนของสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษทางห้องปฏิบัติการครั้งก่อนและปรับปรุงจนผ่านเกณฑ์ คูณ 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษทางห้องปฏิบัติการทั้ง 2 ครั้ง