รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง ที่บ้าน (ผลลัพธ์) : 0800-6768

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ และขออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 39 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด จำนวน 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูลจำนวนยอดผู้ป่วยฯ ณ วันที่ 1 ต.ค.65 – 28 ก.พ. 66) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 12,554 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน และ กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กิจกรรมที่อยู่ในช่วงดำเนินการ ได้แก่ 1. กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข อยู่ระหว่างดำเนินการประชุมโดยศูนย์บริการสาธารณสุข 2. กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมตามแผนที่กำหนด 3. กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 653 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด จำนวน 653 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูลจำนวนยอดผู้ป่วยฯ ณ วันที่ 1 ต.ค.65 – 29 พ.ค. 66) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 11,468 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน และ กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กิจกรรมที่อยู่ในช่วงดำเนินการ ได้แก่ 1. กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข อยู่ระหว่างดำเนินการประชุมโดยศูนย์บริการสาธารณสุข 2. กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมตามแผนที่กำหนด 3. กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 2,019 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด จำนวน 2,019 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูลจำนวนยอดผู้ป่วยฯ ณ วันที่ 1 ต.ค.65 – 31 ส.ค. 66) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 10,775 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้ว คิดเป็นร้อยละ 100 ของความสำเร็จ และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม 1. Home Ward หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีผู้ดูแล (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการสร้างแกนนำผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและมีพยาบาลผู้จัดการสุขภาพดูแลต่อเนื่องที่บ้านในโปรแกรม BMA Home Ward Referral 2. การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพด้วยแบบประเมิน ADL หรือ TAI หรือ 2Q ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ที่ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะ แทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน หารจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward คูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง