รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง (ผลลัพธ์) : 0800-6769

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ และขออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำนวน 1,259 ราย และผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด จำนวน 1,259 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ ณ วันที่ 17 มีนาคม 2566) โดยดำเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการรูปแบบการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง เมื่อวันที่ 1-3 มีนาคม 2566 เรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำนวน 632 ราย และผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด จำนวน 632 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ ณ เดือนพฤษภาคม 2566) โดยดำเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการรูปแบบการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง เมื่อวันที่ 1-3 มีนาคม 2566 เรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำนวน 643 ราย และผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด จำนวน 643 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2566) ทั้งนี้ การดำเนินโครงการเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว คิดเป็นร้อยละ 100 ของความสำเสร็จ และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ผู้ป่วยระยะท้าย หมายถึง ผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุ ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคองที่บ้านในโปรแกรม BMA Home Ward Referral ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ จำนวนผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง หารจำนวนผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด คูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)
:๑.๕.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ%
:๑.๕.๑.๒ พัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง