ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 97.41
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
- ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้รับการเยี่ยม จำนวน 9,118 คน - ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 8,711 คน
- ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้รับการเยี่ยม จำนวน 15,720 คน - ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 15,115 คน
- ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้รับการเยี่ยม จำนวน 20,538 คน - ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 19,909 คน
- ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้รับการเยี่ยม จำนวน 25,693 คน - ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (ฺBMA Home Ward Referral) และต้องการเยี่ยมบ้าน หรือการดูแลแบบประคับประคองไดรับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 25,028 คน
ผลผลิต 10,000 เตียง (รายใหม่) ผลลัพธ์ ร้อยละ 95 นิยาม ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ (BMA Home Ward Referral) หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุรายใหม่ ที่ส่งต่อผ่านโปรแกรม BMA Home Ward Referral ตั้งแต่ 1 ต.ค. 65 – 31 ก.ค. 66 โดยไม่นับรวมรายที่เยี่ยมไม่พบ และรายที่เสียชีวิต จำแนกออกเป็น 6 กลุ่ม การพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุในระบบส่งต่อ BMA Home Ward Referral ที่ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามกำหนดระยะเวลาในการเยี่ยม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ได้รับการเยี่ยมภายใน 7 วัน หลังจำหน่ายออกจาก รพ. เช่น ผู้ป่วยหลังผ่าตัด เป็นต้น กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้รับ การเยี่ยมภายใน 15 วัน หลังจำหน่ายออกจาก รพ. เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ธาลัสซีเมีย เป็นต้น กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้ป่วยเจ็บป่วยเรื้อรังและมีการไร้ความสามารถเล็กน้อย ได้รับการเยี่ยมภายใน 15 วันหลังจำหน่ายออกจาก รพ. ได้แก่ โรคเรื้อรังและมีการ ไร้ความสามารถเล็กน้อยที่มี ADL = 5-11 คะแนน กลุ่มที่ 4 กลุ่มผู้ป่วยเจ็บป่วยเรื้อรังและมีความพิการอย่างรุนแรง ได้รับการเยี่ยมภายใน 15 วัน ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและมีความพิการอย่างรุนแรงที่มี ADL = 0-4 คะแนน กลุ่มที่ 5 กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการเยี่ยมภายใน 7 วัน หลังจำหน่ายออกจาก รพ. ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่การดำเนินโรคเข้าสู่ระยะสุดท้าย กลุ่มที่ 6 กลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ ได้รับการเยี่ยมภายใน 1 เดือน หลังจำหน่ายออกจาก รพ. เช่น กลุ่มผู้ป่วยสูงอายุที่มีปัญหาสมองเสื่อม ผู้ป่วยออทิสติก ผู้ป่วยDown syndrome ผู้ป่วยจิตเวช เป็นต้น
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ ผลผลิต - จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุ (เตียง) ในระบบส่งต่อ BMA Home Ward Referral ได้รับการพยาบาล ต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ ผลลัพธ์ A = จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ในระบบส่งต่อ BMA Home Ward Referral ที่ได้รับการพยาบาลต่อเนื่อง ที่บ้านตามเกณฑ์ B = จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ในระบบส่งต่อ BMA Home Ward Referral สูตรคำนวณ (A/B) x100
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. แบบรายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส 2. แบบบันทึกการส่งเยี่ยมบ้านของพยาบาล 3. เก็บรวบรวมข้อมูลจากโปรแกรม BMA Home Ward Referral
:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
:๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City) |
:๑.๕.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ% |
:๑.๕.๑.๒ พัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน |