รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุข : 0800-6786

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

0 / 0
2
2.00

0 / 0
3
4.00

0 / 0
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เปิดให้บริการฯ จำนวน 6 แห่ง ในเดือนธันวาคม 2565 กลุ่มกรุงเทพเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง กลุ่มกรุงเทพกลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52 สามเสนนอก กลุ่มกรุงเทพตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ กลุ่มกรุงเทพใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย กลุ่มกรุงธนเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา กลุ่มกรุงธนใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เปิดให้บริการฯ จำนวน 6 แห่ง ในเดือนธันวาคม 2565 กลุ่มกรุงเทพเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง กลุ่มกรุงเทพกลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52 สามเสนนอก กลุ่มกรุงเทพตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ กลุ่มกรุงเทพใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย กลุ่มกรุงธนเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา กลุ่มกรุงธนใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ระดับความสำเร็จ 4 (ร้อยละ 90) คะแนนที่ได้รับ 19 คะแนน 1.เปิดให้บริการดูแล รักษา และสังเกตอาการผู้ป่วยที่ศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.พลัส) เดือนธันวาคม 2565 จำนวน 6 แห่ง 1) กลุ่มกรุงเทพเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง 2) กลุ่มกรุงเทพกลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52 สามเสนนอก 3) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ 4) กลุ่มกรุงเทพใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย 5) กลุ่มกรุงธนเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา 6) กลุ่มกรุงธนใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม 2. การยกระดับคลินิกกายภาพบำบัดเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ เปิดบริการ ในเดือนมีนาคม 2566 จำนวน 4 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 7 บุญมี ปุรุราชรังสรรค์ 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 8 บุญรอด รุ่งเรือง 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 ช่วง นุชเนตร 4) ศูนย์บริการสาธารณสุข 48 นาควัชระอุทิศ 3. การพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขสาขาให้เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง เปิดให้บริการ ในเดือนเมษายน 2566 จำนวน 4 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 21 วัดธาตุทอง สาขาพระโขนง 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 35 หัวหมาก สาขากาญจนวาส 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ สาขาออเงิน 4) ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา สาขาแจ่ม-ดำ ควรชม และเปิดให้บริการ ในเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 2 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 ถนอม ทองสิมา สาขางามเจริญ 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 44 ลำผักชี หนองจอง สาขาคลองสิบสอง - อยู่ระหว่างจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมถอดบทเรียนและข้อเสนอแนะในการพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ระดับความสำเร็จ 5 (ร้อยละ 100) คะแนนที่ได้รับ 20 คะแนน 1.เปิดให้บริการดูแล รักษา และสังเกตอาการผู้ป่วยที่ศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.พลัส) เดือนธันวาคม 2565 จำนวน 6 แห่ง 1) กลุ่มกรุงเทพเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง 2) กลุ่มกรุงเทพกลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52 สามเสนนอก 3) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ 4) กลุ่มกรุงเทพใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย 5) กลุ่มกรุงธนเหนือ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา 6) กลุ่มกรุงธนใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม 2. การยกระดับคลินิกกายภาพบำบัดเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ เปิดบริการ ในเดือนมีนาคม 2566 จำนวน 4 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 7 บุญมี ปุรุราชรังสรรค์ 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 8 บุญรอด รุ่งเรือง 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 ช่วง นุชเนตร 4) ศูนย์บริการสาธารณสุข 48 นาควัชระอุทิศ 3. การพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขสาขาให้เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง เปิดให้บริการ ในเดือนเมษายน 2566 จำนวน 4 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 21 วัดธาตุทอง สาขาพระโขนง 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 35 หัวหมาก สาขากาญจนวาส 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ สาขาออเงิน 4) ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา สาขาแจ่ม-ดำ ควรชม และเปิดให้บริการ ในเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 2 แห่ง 1) ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 ถนอม ทองสิมา สาขางามเจริญ 2) ศูนย์บริการสาธารณสุข 44 ลำผักชี หนองจอง สาขาคลองสิบสอง - จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมถอดบทเรียนและข้อเสนอแนะในการพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุขเสนอผู้บริหารเพื่อทราบ - การเปิดให้บริการดูแล รักษา และสังเกตอาการผู้ป่วยในศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.พลัส)ผลการดำเนินงาน จำนวนผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น 591 คน ส่งต่อโรงพยาบาล จำนวน 73 คน (ร้อยละ 12.35) จำหน่ายกลับบ้าน จำนวน 518 คน (ร้อยละ 87.65 ) ลดการส่งต่อผู้ป่วยไปโรงพยาบาลได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - การพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุขสาขาให้เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง ผลการดำเนินงาน จำนวนผู้รับบริการทั้งสิ้น 6,156 ราย - การยกระดับคลินิกกายภาพบำบัดเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ ผลการดำเนินงาน จำนวนผู้รับบริการทั้งสิ้น 1,553 คน/4,145 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ความสำเร็จในการพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุข หมายถึง จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่มีการพัฒนาศักยภาพการให้บริการที่เพิ่มขึ้นจากบริการสุขภาพปฐมภูมิเดิม โดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ วิธีการ การให้บริการสุขภาพ หรือเพิ่มบริการ การดูแล รักษา หรือฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ 1) การเปิดให้บริการดูแลรักษา และสังเกตอาการผู้ป่วยที่ศูนย์บริการสาธารณสุข หรือ ศบส. พลัส โดยการเพิ่มเตียงนอนเพื่อสังเกตอาการผู้ป่วย จำนวน 6 แห่ง 2) การพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ให้เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง โดยให้การตรวจรักษาโดยแพทย์ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพให้แก่ประชาชน จำนวน 6 แห่ง 3) การยกระดับคลินิกกายภาพบำบัดเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการด้านการฟื้นฟูสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง - หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข และศูนย์บริการสาธารณสุข

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่สามารถดำเนินการ พัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุขได้สำเร็จ ตามเกณฑ์การให้คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน - แบบรายงานผลการดำเนินงานรายเดือน - รายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมถอดบทเรียนและข้อเสนอแนะในการพัฒนาศักยภาพในปีต่อไป

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)
:๑.๕.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ%
:๑.๕.๑.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC)

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง