ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 45.26
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1) กองสุขาภิบาลอาหารดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ทั้งนี้ ได้มีการแก้ไขคำสั่งฯ ดังกล่าว โดยมีการเปลี่ยนรายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะทำงาน และเลขานุการ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2566 2) อยู่ระหว่างการเตรียมข้อมูลในการจัดประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Video Conference ด้วยโปรแกรมการประชุมออนไลน์ google meet เพื่อ - จัดทำแนวทางจัดการคุณภาพน้ำแข็งที่จำหน่ายในสถานประกอบการอาหารให้สะอาด ปลอดภัย - จัดทำเกณฑ์การประเมินเพื่อมอบป้ายรับรอง “ร้านนี้ น้ำแข็งปลอดภัย มั่นใจ บริโภค” โดยกำหนดจัดประชุมฯ ในวันที่ 30 มีนาคม 2566
1) กองสุขาภิบาลอาหารดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ทั้งนี้ ได้มีการแก้ไขคำสั่งฯ ดังกล่าว โดยมีการเปลี่ยนรายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะทำงาน และเลขานุการ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2566 2) จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม Google meet เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 3) จัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2566 4) อยู่ระหว่างการลงพื้นที่ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารที่จำหน่ายน้ำแข็ง (1 มิถุนายน – 21 กรกฎาคม 2566)
1) กองสุขาภิบาลอาหารดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ทั้งนี้ ได้มีการแก้ไขคำสั่งฯ ดังกล่าว โดยมีการเปลี่ยนรายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะทำงาน และเลขานุการ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2566 2) จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม Google meet เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2566 3) กองสุขาภิบาลอาหารร่วมกับสำนักงานเขตลงพื้นที่ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารที่จำหน่ายน้ำแข็งในพื้นที่นำร่องของกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว สรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 ตรวจสถานประกอบการอาหารที่จำหน่ายน้ำแข็งในพื้นที่นำร่องของกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 95 ราย พบว่ามีการจัดการคุณภาพน้ำแข็งที่จำหน่ายเป็นไปตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 ราย (ร้อยละ 31.58) 3.2 สุ่มเก็บตัวอย่างภาชนะและมือผู้สัมผัสอาหาร ตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (SI-2) จำนวนทั้งสิ้น 353 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 315 ตัวอย่าง (ร้อยละ 89.24) และพบการปนเปื้อน จำนวน 38 ตัวอย่าง (ร้อยละ 10.76) 3.3 สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำแข็งบริโภค ตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (อ.11) จำนวนทั้งสิ้น 94 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 38 ตัวอย่าง (ร้อยละ 89.24) และพบการปนเปื้อน จำนวน 38 ตัวอย่าง (ร้อยละ 10.76) 3.4 สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำแข็งบริโภค ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาการปนเปื้อน เชื้อโรค โดยใช้เกณฑ์คุณภาพน้ำแข็งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 78 (พ.ศ. 2527) จำนวนทั้งสิ้น 95 ตัวอย่าง พบว่าผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 43 ตัวอย่าง (ร้อยละ 45.26) และไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 52 ตัวอย่าง (ร้อยละ 54.74) 4) จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพน้ำแข็งในสถานประกอบการอาหาร เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพน้ำแข็งสะอาดปลอดภัยในสถานประกอบการอาหารและมอบป้ายรับรอง “ร้านนี้น้ำแข็งปลอดภัย มั่นใจ บริโภค” โดยประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์โปรแกรม Google meet เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2566 5) จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพน้ำแข็งสะอาดปลอดภัยในสถานประกอบการอาหารและมอบป้ายรับรอง “ร้านนี้น้ำแข็งปลอดภัย มั่นใจ บริโภค” ให้กับสถานประกอบการอาหารที่มีการจัดการคุณภาพน้ำแข็งที่จำหน่ายเป็นไปตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 30 ราย เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมเธียร์เตอร์ ชั้น 2 ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
1. ตัวอย่างน้ำแข็ง หมายถึง ตัวอย่างน้าแข็งบริโภคที่สุ่มตรวจจากสถานประกอบการอาหารที่จาหน่ายน้าแข็งบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ แผงลอยจาหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชา ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เชื้อโรค หมายถึง เชื้อที่ทาให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli , Staphylococcus aureus และSalmonella spp. 3. ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค หมายถึง ผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้าแข็งอยู่ในเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 78 (พ.ศ. 2527) เรื่อง น้าแข็ง ดังนี้ 3.1 ตรวจพบบักเตรีชนิดโคลิฟอร์ม น้อยกว่า 2.2 ต่อน้าสะอาด 100 มิลลิลิตร โดยวิธี เอ็ม พี เอ็น (Most Probable Number) 3.2 ต้องไม่พบบักเตรี ชนิด อี.โคไล Escherichia coli 3.3 ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค 4. กรณีพบการปนเปื้อนเชื้อโรค สานักงานเขตดาเนินการตามอานาจหน้าที่ให้ผู้ประกอบการปรับปรุงแก้ไข และเก็บตัวอย่างน้าแข็ง ตรวจซ้าจนไม่พบการปนเปื้อน ผลผลิต จานวนตัวอย่างน้าแข็งที่ได้รับการสุ่มตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโรค ผลลัพธ์ ร้อยละของตัวอย่างน้าแข็งที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค
วิธีคานวณ จานวนตัวอย่างน้าแข็งที่ตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คูณด้วย 100 หารด้วยจานวนตัวอย่างน้าแข็งที่ได้รับการสุ่มตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนเชื้อโรคทั้งหมด สูตรการคานวณ (จานวนตัวอย่างน้าแข็งที่ตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค x 100) /จานวนตัวอย่างน้าแข็งที่ตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนเชื้อโรคทั้งหมด