รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของนักเรียนมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติ : 0900-2015

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 10

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 5.38

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
5.38
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำแบบสำรวจข้อมูลค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1/2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างสำรวจการดำเนินการภาวะโภชนาการของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

วิเคราะห์ข้อมูลจกแบบสำรวจการดำเนินการภาวะโภชนาการของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในเดือนกรกฎาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการดัชนีมวลกายนักเรียน ปีการศึกษา 2563 เรียบร้อยแล้ว พบว่า 1. นักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 76.20 2. นักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 81.57 ดังนั้น นักเรียนที่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.37

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นักเรียน หมายถึง นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครทุกระดับชั้น ค่าดัชนีมวลกาย หมายถึง ค่าที่ใช้บ่งบอกชี้ว่าอ้วนหรือผอม เกณฑ์จัดทำโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ค่าดัชนีมวลกายในระดับปกติเพิ่มมากขึ้น หมายถึง นักเรียนที่มีค่า ดัชนีมวลกายในระดับน้ำหนักน้อยหรือภาวะอ้วนระดับ 1-3 ลดลง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละของนักเรียนผอมและอ้วนในปีงบประมาณ 2564 - ร้อยละของนักเรียนผอมและอ้วนในปีงบประมาณ 2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

- รายงานผลการวัดค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง