ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. สำรวจและลงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ให้เป็นไปตามผลการศึกษาของสำนักวางผังและพัฒนาเมือง และจัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 3. มีแผนงานพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดน้อย 4. - จัดทำรูปแบบ รายการ ประมาณราคา ถนนทรงวาด, ถนนทรงสวัสดิ์, ถนนภาณุรังษี และทางเดินย่านตลาดน้อย และเขียนโครงการเพื่อเตรียมขอจัดสรรงบประมาณปี 2565 - นำโครงการขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการให้ได้รับงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้น ๆ ผลการดำเนินงานคิดเป็นระดับ 5 (ร้อยละ 100)
1. สำรวจและลงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ให้เป็นไปตามผลการศึกษาของสำนักวางผังและพัฒนาเมือง และจัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 3. มีแผนงานพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดน้อย 4. - จัดทำรูปแบบ รายการ ประมาณราคา ถนนทรงวาด, ถนนทรงสวัสดิ์, ถนนภาณุรังษี และทางเดินย่านตลาดน้อย และเขียนโครงการเพื่อเตรียมขอจัดสรรงบประมาณปี 2565 - นำโครงการขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการให้ได้รับงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้น ๆ ผลการดำเนินงานคิดเป็นระดับ 5 (ร้อยละ 100)
1. สำรวจและลงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ให้เป็นไปตามผลการศึกษาของสำนักวางผังและพัฒนาเมือง และจัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 3. มีแผนงานพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดน้อย 4. - จัดทำรูปแบบ รายการ ประมาณราคา ถนนทรงวาด, ถนนทรงสวัสดิ์, ถนนภาณุรังษี และทางเดินย่านตลาดน้อย และเขียนโครงการเพื่อเตรียมขอจัดสรรงบประมาณปี 2565 - นำโครงการขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการให้ได้รับงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้น ๆ ผลการดำเนินงานคิดเป็นระดับ 5 (ร้อยละ 100)
1. สำรวจและลงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ให้เป็นไปตามผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 3. จัดทำแผนงานพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดน้อย 4. - จัดทำรูปแบบ รายการ ประมาณราคา ถนนทรงวาด ถนนทรงสวัสดิ์ ถนนภาณุรังษี และทางเดินย่านตลาดน้อย และเขียนโครงการเพื่อเตรียมขอจัดสรรงบประมาณปี 2565 - นำโครงการขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565
ความสำเร็จของการกำหนดแผนงาน หมายถึง การดำเนินการจัดทำแผนงาน โดยประกอบด้วยโครงการที่มุ่งพัฒนาย่านตลาดน้อย ตามผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ที่กำหนดพื้นที่นำร่องในย่านตลาดน้อยเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ และร่วมดำเนินการกับหลายหน่วยงาน ซึ่งสำนักการโยธา มีภารกิจร่วมการพัฒนาพื้นที่ดังกล่าว โดยผลการศึกษากำหนดไว้ดังนี้ 1. พัฒนาฟื้นฟูโครงข่ายถนนทางเท้าในพื้นที่ - เชื่อมโยงการเดินทางภายในพื้นที่ การเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนหลักและรอง - ให้โครงสร้างถนนและทางเท้ามีความร่มรื่นสวยงามจากพรรณไม้ในพื้นที่ - รองรับให้เกิดเส้นทางการเดินทางที่ลดการพึ่งพารถยนต์ในพื้นที่ เช่น ทางจักยาน การเดินเท้า เป็นต้น 2. กำกับ ควบคุมการอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลงและบูรณะอาคารตามกรอบอำนาจหน้าที่เพื่ออนุรักษ์ รักษาเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมอาคาร แนวทางการดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวชี้วัดระยะ 3 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2564 ดำเนินการดังนี้ 1. สำรวจย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า สิ่งอำนวยความสะดวก และอื่น ๆ 2. ทำการวิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ และกำหนดแผนงาน/โครงการตามกรอบผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 3. จัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 4. จัดทำรูปแบบ ประมาณราคา รายละเอียดโครงการของโครงการตามแผนที่กำหนด เพื่อขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการที่ขอจัดสรรงบประมาณในปี พ.ศ.2565 ให้ได้รับงบประมาณ โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้นๆ ฯลฯ
เป้าหมาย : ร้อยละ 100 วิธีคำนวณ - แผนงาน/โครงการพัฒนาย่านตลาดน้อย นำโครงการของบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 โดยผลักดันให้โครงการได้รับงบประมาณ
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน - สรุปผลการสำรวจถนน ทางเท้า สิ่งอำนวยความสะดวก ทางจักรยาน ฯลฯ พื้นที่ย่านตลาดน้อย (ด้วยเอกสารและระบุลงแผนที่แสดงตำแหน่ง - แผนงาน/โครงการ (ประกอบด้วยโครงการที่จะดำเนินการ ปีที่ดำเนินการ) - ภาพถ่าย จากการสำรวจพื้นที่ - เอกสารคำของบประมาณปี 2565 - ปรากฎข้อบัญญัติงบประมาณ ประจำปี พ.ศ.2565
:ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
:๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม |
:๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ% |
:๔.๑.๑.๑ ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมือง |