ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 10
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 45.19
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างการเบิกจ่ายเงินตามสัญญา
ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 (หลังปรับโอน) รวมเป็นเงิน 7,932,970,635.00 บาท เบิกจ่าย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 รวมเป็นเงิน 1,761,826,082.46 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.21
ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 (หลังปรับโอน) รวมเป็นเงิน 7,794,074,200.00 บาท เบิกจ่าย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 รวมเป็นเงิน 3,268,837,435.69 บาท คิดเป็นร้อยละ 41.94
สำนักการโยธา ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 (หลังปรับโอน) ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 ดังนี้ งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปีหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ และหมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2564) จำนวน 7,906,646,562.-บาท เบิกจ่าย 3,573,284,859.13 บาท เบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2564 คิดเป็นร้อยละ 45.19
คำอธิบาย 1. ความส้าเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดาเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณพ.ศ. 2564) 2. จ้านวนเงินงบประจ้าปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 3. งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดาเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงินโครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป
วิธีการคำนวณ : ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หารงบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 คูณ 100 เท่ากับ ก% * นำร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมที่ได้ (ก%) ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนของ สงม.
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. ข้อมูลจากตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 2. จำแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมินและกาหนดค่าเป้าหมายของแต่ละกลุ่มโดยพิจารณาจากภารกิจของหน่วยงาน และผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่าย งบประมาณในภาพรวมของแต่ละกลุ่มหน่วยงาน 2.1 กลุ่มหน่วยงาน A สานักที่มีภารกิจงานอานวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของตัวชี้วัด ความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90 2.2 กลุ่มหน่วยงาน B สานักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ แต่ไม่มีโครงการขนาดใหญ่ มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของ หน่วยงาน ในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 79.73 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับร้อยละ 75 2.3 กลุ่มหน่วยงาน C สานักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ และมีโครงการขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ย ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของ หน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 66.77 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 65 2.4 กลุ่มหน่วยงาน D สานักงานเขต มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 91.36 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๓ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและ |