ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างให้ทุกส่วนราชการจัดทำแบบฟอร์มแสดงความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 1) อย่างน้อยส่วนราชการละ 2 แนวคิด
อยู่ระหว่างดำเนินโครงการจัดทำระบบ Smart Monitor Lighting บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและหน้าปากซอยอารีย์ พื้นที่เขตจตุจักรและเขตพญาไท
โครงการจัดทำระบบ Smart Monitor Lighting บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและหน้าปากซอยอารีย์ พื้นที่เขตจตุจักรและเขตพญาไท ใช้งานได้ตามเป้าหมาย
สำนักการโยธาดำเนินโครงการจัดทำระบบ Smart Monitor Lighting บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและหน้าปากซอยอารีย์ พื้นที่เขตจตุจักรและเขตพญาไท โดยเริ่มใช้งานระบบเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564 ซึ่งระบบจะแสดงสถานะการทำงานของระบบ Smart Monitor Lighting ที่จอ Computer หรือ Smartphone หากเกิดไฟฟ้าดับบริเวณพื้นที่นำร่อง 2 แห่งข้างต้น ระบบจะแจ้งเตือนมายังแอพพลิเคชั่นไลน์ เมื่อทีมงานทราบปัญหาจะสามารถเข้าถึงพื้นที่แก้ไขปัญหาได้ภายใน 24 ชั่วโมง ตัวชี้วัดที่ 1 เกิดนวัตกรรม Smart Monitor Lighting พร้อมสามารถแจ้งเตือนและบอกพิกัดไฟติด - ดับ ได้ถูกต้อง ผลงาน : ติดตั้งระบบ Smart Monitor Lighting หน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและหน้าปากซอยอารีย์ พื้นที่เขตจตุจักรและเขตพญาไท เสร็จเรียบร้อย ซึ่งจะแสดงสถานะการทำงานของระบบ Smart Monitor Lighting ที่จอ Computer หรือ Smartphone หากเกิดไฟฟ้าดับบริเวณพื้นที่นำร่อง 2 แห่งข้างต้น ระบบจะแจ้งเตือนมายังแอพพลิเคชั่นไลน์ ตัวชี้วัดที่ 2 ระยะเวลาติดตั้งระบบ Smart Monitor Lighting ไม่เกินจำนวน 90 วัน และระบบต้องสามารถใช้งานได้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 30 กันยายน 2564 ผลงาน : ติดตั้งระบบ Smart Monitor Lighting แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 5 วัน และเริ่มใช้งานระบบตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2564 เป็นต้นไป
ค้าอธิบาย : นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดาเนินงาน และการให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่างๆซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (ที่มา:ศูนย์นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาระบบราชการไทย สานักงาน ก.พ.ร.) หน่วยงานนำเสนอนวัตกรรมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้ นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เป็นการคิดริเริ่มนโยบาย กฎหมายและกฎใหม่ๆให้ทันสมัย เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร นวัตกรรมการบริการ (Service Innovation) การพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบการให้บริการด้วยการนาแนวคิด องค์ความรู้ ประสบการณ์ หรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบ การให้บริการใหม่ๆ ที่สอดคล้อง และทันต่อความต้องการของประชาชน/ผู้รับบริการ นวัตกรรมการบริหาร/องค์กร (Administrative or Organizational Innovation)การพัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนงานใหม่ (New Process) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการบริหารงาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานของหน่วยงาน หรือกระบวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานรูปแบบใหม่ ที่ส่งผลต่อระบบการทางานขององค์กร การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงาน บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ
เกณฑ์การประเมิน : การประเมินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พิจารณาจากระดับความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน ตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอนการค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยเสนอแนวคิดภายใต้รูปแบบที่กาหนดตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน(แบบฟอร์ม 1) โดยกาหนดจานวนแบบฟอร์มที่หน่วยงานที่รับการประเมินต้องส่งให้สานักงาน ก.ก. ดังนี้ 1. หน่วยงานระดับสานัก จานวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด 2. สานักงานเขต จานวนไม่น้อยกว่า 15 ชุด 3. ส่วนราชการในสังกัดสานักปลัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร และสานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จานวนไม่น้อยกว่า 10 ชุด ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนการคัดเลือกความคิดเห็นจากขั้นตอนที่ 1 โดยคณะผู้บริหาร/คณะทางานของแต่ละหน่วยงาน กาหนดให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาเลือกเพียง 1 ความคิดเห็น เพื่อนามาพัฒนา หรือปรับปรุงการทางานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ โดยให้ระบุรายละเอียดของแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือกในแบบสรุปผลการคัดเลือกความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 2) ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนการนาเสนอโครงการ โดยหน่วยงานนาแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือกตามขั้นตอนที่ 2 มาจัดทาโครงการนวัตกรรมฯ 1 โครงการ (แบบฟอร์ม 3) พร้อมจัดทาแบบฟอร์มนาเสนอโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 4) เพื่อเสนอคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครพิจารณาต่อไป ทั้งนี้โครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่นาเสนอไม่จาเป็นต้องดาเนินการแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณเดียว สามารถนาเสนอโครงการฯ ระยะยาวที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องได้ โดยกาหนดเป้าหมายโครงการแต่ละปีงบประมาณให้ชัดเจน ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯโดยหน่วยงานดาเนินโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ตามแนวทาง/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่กาหนด และส่งเอกสาร หลักฐานให้สานักงาน ก.ก. พิจารณาภายในระยะเวลาที่กาหนด ขั้นตอนที่ 5 เป็นขั้นตอนการจัดทาแบบสารวจผลการนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยให้หน่วยงานจัดทาตาม (แบบฟอร์ม 5) และนาเสนอต่อผู้บริหารหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา 1. แบบฟอร์มแสดงความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 1) 2. แบบสรุปผลการคัดเลือกแนวคิดเพื่อจัดทาโครงการนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 2) 3. แบบฟอร์มโครงการในการพัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 3) 4. แบบฟอร์มนาเสนอโครงการในการพัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 4) 5. แบบสารวจผลการนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (แบบฟอร์ม 5) 6. เอกสาร/หลักฐานต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงระดับความสาเร็จของการดาเนินการพัฒนานวัตกรรมเช่น รายงานการประชุม รายงานสรุปผลการดาเนินการ ภาพถ่าย ฯลฯ
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ |
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์% |
:๗.๕.๑.๔ มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด |