ค่าเป้าหมาย แห่ง : 3
ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 2
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม ช่วงจากสะพานจตุรภักตร์รังสฤษฏ์ถึงสะพานมัฆวานรังสรรค์ พื้นที่เขต ป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตดุสิต (ผลงานสะสมถึงปัจจุบัน 80.00%) 2. จัดซ่อมคันหินและทางเท้าถนนสุทธิสารวินิจฉัย ช่วงจากถนนพหลโยธินถึงถนนวิภาวดีรังสิต พื้นที่เขตพญาไท (อยู่ระหว่างหาตัวผู้รับจ้าง) 3. จัดซ่อมผิวจราจรและทางเท้าถนนเอกชัย ช่วงจากคลองราชมนตรีถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางบอน (อยู่ระหว่างเห็นชอบรูปแบบ)
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม ช่วงจากสะพานจตุรภักตร์รังสฤษฏ์ถึงสะพานมัฆวานรังสรรค์ พื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตดุสิต (ดำเนินการแล้วเสร็จ 100%) 2. จัดซ่อมคันหินและทางเท้าถนนสุทธิสารวินิจฉัย ช่วงจากถนนพหลโยธินถึงถนนวิภาวดีรังสิต พื้นที่เขตพญาไท (อยู่ระหว่างหาตัวผู้รับจ้าง) 3. จัดซ่อมผิวจราจรและทางเท้าถนนเอกชัย ช่วงจากคลองราชมนตรีถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางบอน (อยู่ระหว่างเห็นชอบรูปแบบ)
1) โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม ช่วงจากสะพานจตุรภักตร์รังสฤษฏ์ถึงสะพานมัฆวานรังสรรค์ พื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตดุสิต สถานะ : ดำเนินการแล้วเสร็จ 2) จัดซ่อมคันหินและทางเท้าถนนสุทธิสารวินิจฉัย ช่วงจากถนนพหลโยธินถึงถนนวิภาวดีรังสิต พื้นที่เขตพญาไท สถานะ : ดำเนินการแล้วเสร็จ 3) จัดซ่อมผิวจราจรและทางเท้าถนนเอกชัย ช่วงจากคลองราชมนตรีถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางบอน สถานะ : อยู่ระหว่างดำเนินการ
ความสำเร็จในการแก้ไขปรับปรุงทางเท้าให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย หมายถึง บริเวณทางเท้าได้รับการปรับปรุงให้เกิดความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และมีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับทุกคน
ระดับ 5 ผลสำเร็จร้อยละ 100 1. แก้ไขปรับปรุงทางเท้า แล้วเสร็จ 3 แห่ง 2. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการบริเวณพื้นที่ทางเท้าที่ดำเนินการแก้ไขปรับปรุง และสรุปผล การดำเนินงาน 3. แผนระยะยาวของการปรับปรุงทางเท้าที่สำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ถนนพระรามที่ 1 เป็นต้นแบบ)
1. แผนระยะยาวของการปรับปรุงทางเท้าที่สำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. แผนการดำเนินงานโครงการ 3 แห่ง 3. รูปแบบ รายการ และประมาณราคา 4. ภาพถ่ายก่อน/หลัง 5. เอกสารอ้างอิงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. ผลสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการบริเวณพื้นที่ทางเท้าที่ดำเนินการแก้ไขปรับปรุง และสรุปผลการดำเนินงาน
:ยุทธศาสตร์ที่ ๔ –การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ |
:๔.๓ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีรูปแบบการจัดการภูมิทัศน์เมืองอย่างยั่งยืน |
:๔.๓.๑ กรุงเทพมหานครมีการปรับปรุงองค์ประกอบทางภูมิทัศน์เมืองและส่งเสริมอัตลักษณ์และทัศนียภาพในการรับร% |
:๔.๓.๑.๓ อนุรักษ์และฟื้นฟูย่าน (Districts) ตามผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะที่สอดคล้องกับผังเมืองรวม หรือพิจารณาเพิ่มเติมในอนาคตที่มีอัตลักษณ์และ พัฒนาพื้นที่ชุมชนอันมีความเป็นเอกลักษณ์ของในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |