ค่าเป้าหมาย แนวคลอง : 20
ผลงานที่ทำได้ แนวคลอง : 17
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
- 21โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 20.76 - แล้วเสร็จ จำนวน 1 โครงการ (คลองบางอ้อ)
- 20โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 53.10 - แล้วเสร็จ จำนวน 2 โครงการ (คลองบางอ้อ , ขุดลอกคูน้ำข้าง โรงพยาบาลรถไฟมักกะสัน
- 9 โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 70.44 - แล้วเสร็จ จำนวน 13 โครงการ (ขุดลอกคลอง หัวหมาก โครงการก่อสร้างเขื่อนดาดท้องคลอง ขุดลอกคลองหัวลำโพงเก่า ขุดลอกคลองกะจะ ขุดลอกคลองเรือนจำกลางคลองเปรม ลอกคลองบ้านป่า ลอกคลองภาษีเจริญ ข้างโรงพยาบาลไฟมักกะสัน ลอกคลองสะแก ลอกคลองบางขี้เก้ง ลอกคลองบางโพ ลอกคลองขรัวตาแก่น ลอกคลองวัดสิงห์
- 5 โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 68.40 - แล้วเสร็จ จำนวน 17 โครงการ (ขุดลอกคลองหัวหมาก โครงการก่อสร้างเขื่อนดาดท้องคลอง ขุดลอกคลองหัวลำโพงเก่า ขุดลอกคลองกะจะ ขุดลอกคลองเรือนจำกลางคลองเปรม ลอกคลองบ้านป่า ลอกคลองภาษีเจริญ ข้างโรงพยาบาลไฟมักกะสัน ลอกคลองสะแก ลอกคลองบางขี้เก้ง ลอกคลองบางโพ ลอกคลองขรัวตาแก่น ลอกคลองวัดสิงห์ โครงการสร้างเขื่อนสำรางสาธารณะ17 คลองศาลาลอยบน ลองคลองลาว ลอกคลองศาลาลองล่าง
1. การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้าง 2. อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ 3. คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด ตามเอกสารแนบ 1
วิธีคำนวณ นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงาน ตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวม - วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหาน (BMA digitalplans) - หลักฐาน 1. แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2. รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 3. ภาพถ่ายกิจกรรมก่อน-หลัง ดำเนินการ ฯลฯ
ตามหลักเกณฑ์
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ |