รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(2566) ร้อยละของการก่อสร้างแนวคันหิน (Groins) ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง และก่อสร้างศูนย์สำรวจและเฝ้าระวังชายฝั่ง (ผลผลิต) : 1100-6521

ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ : 30

ผลงานที่ทำได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
10.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนประสบปัญหาการกัดเซาะอย่างรุนแรง ต่อมาได้มีการก่อสร้างแนวคันไม้ไผ่ ทำให้ลดการกัดเซาะไปได้พอสมควร ปัจจุบันแนวป้องกันชั่วคราวอยู่ในสภาพชำรุดไม่สามารถป้องกัน การกัดเซาะได้ เมื่อมีการก่อสร้างแนวป้องกันถาวร จะทำให้ลดการกัดเซาะชายฝั่งได้ ทำให้เกิดตะกอนดินเลนชายฝั่งทะเลเพิ่มขึ้น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละความสำเร็จของแต่ละขั้นตอน ในการก่อสร้างแนวคันหิน (Groins)ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งก่อสร้างเขื่อนคันหิน (Groins) ก่อสร้างศูนย์สำรวจเฝ้าระวังการกัดเซาะชายฝั่ง

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

โดยคำนวณจากความก้าวหน้าของโครงการของกรุงเทพมหานครที่ได้รับงบประมาณประจำปี 2566 ดำเนินการโดยแบ่งสัดส่วน ดังนี้ 1. ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ EIA ร้อยละ 10 2. ขออนุมัติดำเนินการ ร้อยละ 15 3. จัดทำ TOR ร้อยละ 15 4. จัดหาผู้รับจ้าง ร้อยละ 5 5. ขออนุมัติจ้าง ร้อยละ 5 6. ดำเนินการก่อสร้าง ร้อยละ 50

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๓ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๓.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๓.๑.๒ ฟื้นฟูป่าชายเลนเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง