ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 8.57
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 8.77
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ไตรมาสที่ 1 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน พ.ย.65 เท่ากับ 26,442,182 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,351,289 ลบ.ม. หรือ 75,865 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.89 สะสมต.ค.-พ.ย. 64 รวมน้ำเข้าปีงบ 66 เท่ากับ 53,325,550 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 4,661,978 ลบ.ม. เฉลี่ยสะสม 76,426 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.74
ไตรมาสที่ 2 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน ก.พ.66 เท่ากับ 23,590,968 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,059,731 ลบ.ม. หรือ 66,443 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.73 สะสม ต.ค.-ก.พ. 66 รวมน้ำเข้าปีงบ 66 เท่ากับ 128,335,038 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 11,402,233 ลบ.ม. เฉลี่ยสะสม 75,511 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.88
ไตรมาสที่ 3 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน พ.ค. 66 เท่ากับ 25,096,528 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,173,589 ลบ.ม. หรือ 70,116 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.66 สะสม ต.ค.-พ.ค. 66 รวมน้ำเข้าปีงบ 66 เท่ากับ 203,258,649 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 17,848,956 ลบ.ม. เฉลี่ยสะสม 73,452 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.78
ไตรมาสที่ 4 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน ส.ค. 66 เท่ากับ 26,655,618 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,329,874 ลบ.ม. หรือ 75,157 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.74 สะสม ต.ค.-ส.ค. 66 รวมน้ำเข้าปีงบ 66 เท่ากับ 281,234,763 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 24,660,943 ลบ.ม. เฉลี่ยสะสม 73,615 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.77
นิยาม 1.การนำน้ำที่ผ่านการกลับมาใช้ใหม่ หรือเรียกว่า Treated Wastewater Reuse เป็นแนวคิดของการนำน้ำที่ผ่านการ บำบัดจนได้น้ำทิ้งที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ กฎหมายกำหนด มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง เหมาะสมกับคุณลักษณะของน้ำ เพื่อช่วย แก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ และลดการใช้ น้ำประปา อีกทั้งช่วยลดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม ซี่งน้ำที่ผ่านการบำบัดของโรง ควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ของ กทม. สามารถนำมาใช้ในกิจกรรมบางประเภท ที่ไม่มีการสัมผัสโดยตรง เช่น ล้างถนน ล้างเครื่องจักร รดน้ำต้นไม้ และเจือจางน้ำใน คลอง เป็นต้น 2. ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดถูกนำกลับมา ใช้ประโยชน์ หมายถึง ปริมาณน้ำที่ผ่านการ บำบัดจากโรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ของ กทม. ที่เปิดดำเนินการ ๘ แห่ง และมีการนำ กลับมาใช้ประโยชน์ในกิจกรรมของเมือง เช่น นำไปล้างท่อ ล้างถนน รดน้ำต้นไม้ เป็นต้น ภารกิจของสำนักการระบายน้ำ 1. นำน้ำที่ผ่านการบำบัดใช้ประโยชน์ ภายใน โรงควบคุมคุณภาพน้ำ เช่น ล้างเครื่องจักรและ อุปกรณ์ ผลิตกระแสไฟฟ้า 2. นำน้ำที่ผ่านการบำบัดส่วนหนึ่งปล่อยลง สู่คลอง เพื่อเจือจางน้ำเสีย และให้การ ไหลเวียนของน้ำดีขึ้น 3. นำน้ำที่ผ่านการบำบัดแจกจ่ายจากโรง ควบคุมคุณภาพน้ำเพื่อให้บริการแก่หน่วยงาน ในสังกัด กทม. และหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีความ ประสงค์จะใช้และนำ น้ำเสียที่ผ่านการ บำบัดไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น รด น้ำต้นไม้ ล้างทำความสะอาดพื้นทางเท้า ถนน สะพานลอย ท่อระบายน้ำ เติมน้ำในสระ - หากระยะทางใกล้ จะขนส่งน้ำโดยให้นำรถบรรทุกน้ำมารับน้ำที่โรงควบคุมคุณภาพน้ำ - หากระยะทางไกล จะขนส่งน้ำผ่านท่อ ส่งน้ำแต่จำกัดเฉพาะบางพื้นที่
1. คำนวณผลการดำเนินงาน ตามสูตรการคำนวณ ดังนี้ = ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดและนำกลับมาใช้ ประโยชน์ (เฉลี่ย ลบ.ม./วัน) x 100 /ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วทั้งหมดของ โรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่ง (เฉลี่ย ลบ.ม./วัน) 2. คำนวณคะแนนที่ได้รับ นำผลการ ดำเนินงาน เทียบกับระดับความสำเร็จในเกณฑ์การให้ คะแนน จากนั้นพิจารณาในส่วนของคะแนนที่ ได้รับในระดับความสำเร็จที่ได้ มาคำนวณตาม สูตร ดังนี้ = ร้อยละของน้ำหนักคะแนน x น้ำหนักคะแนน/ 100
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. รายงานการใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดราย เดือนของโรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่ง 2. รายงานปริมาณน้ำเสียเข้าระบบราย เดือน ของโรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่ง 3. สรุปตารางแสดงปริมาณน้ำที่ผ่านการ บำบัดแล้วกลับมาใช้ประโยชน์ ประจำปี งบประมาณ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด“ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์” ระดับความสำเร็จ เกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ วิธีวัดผลการดำเนินงาน คะแนนที่ได้รับ 5 ร้อยละ 100 ปริมาณการใช้ประโยชน์ของน้ำที่ผ่านการบำบัดตั้งแต่ร้อยละ 8.56 ขึ้นไป ร้อยละ 100 ของน้ำหนักคะแนน 4 ร้อยละ 80 ปริมาณการใช้ประโยชน์ของน้ำที่ผ่านการบำบัดตั้งแต่ร้อยละ 7.72 – 8.55* (*ผลงานสูงสุด 3 ปีย้อนหลัง คิดเป็นร้อยละ 8.55) ร้อยละ 80 ของน้ำหนักคะแนน 3 ร้อยละ 60 ปริมาณการใช้ประโยชน์ของน้ำที่ผ่านการบำบัดตั้งแต่ร้อยละ 7.29 – 7.71* (*ค่าเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง คิดเป็นร้อยละ 7.71) ร้อยละ 60 ของน้ำหนักคะแนน 2 ร้อยละ 40 ปริมาณการใช้ประโยชน์ของน้ำที่ผ่านการบำบัดตั้งแต่ร้อยละ 6.86* – 7.28 (*ผลงานต่ำสุด 3 ปีย้อนหลัง คิดเป็นร้อยละ 6.86) ร้อยละ 40 ของน้ำหนักคะแนน 1 ร้อยละ 20 ปริมาณการใช้ประโยชน์ของน้ำที่ผ่านการบำบัดไม่ถึงร้อยละ 6.86 ร้อยละ 20 ของน้ำหนักคะแนน
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่% |
:๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม |