รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดระเบียบเมือง (วินจักรยานยนต์รับจ้าง) (สนท.2566) : 1500-2067

ค่าเป้าหมาย เครือข่าย (อย่างน้อยสำนักงานเขตละ 1 เครือข่าย) : 50

ผลงานที่ทำได้ เครือข่าย (อย่างน้อยสำนักงานเขตละ 1 เครือข่าย) : 50

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เครือข่าย (อย่างน้อยสำนักงานเขตละ 1 เครือข่าย))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00
100
100 / 100
4
50.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม 65 มีสมาชิก 18 คน เดือนพฤศจิกายน 65 มีสมาชิก 18 คน เดือนธันวาคม 65 มีสมาชิก 80 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม 66 มีสมาชิก 86 คน เดือนกุมภาพันธ์ 66 มีสมาชิก 90 คน เดือนมีนาคม 66 มีสมาชิค 149 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือนเมษายน 2566 มีสมาชิก 149 คน เดือนพฤษภาคม 2566 มีสมาชิก 242 คน เดือนมิถุนายน 2566 มีสมาชิก 242 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลการดำเนินการตามโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดระเบียบเมือง (รณรงค์ไม่จอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า) ดังนี้ 1. มีเครือข่าย 50 เครือข่าย (สำนักงานเขต) จำนวนสมาขิก 244 ราย 2. กรณีเครือข่ายฯ ได้แจ้งการจอด/ขับขี่รถบนทางเท้า 643 เรื่อง 3. สนข.ตักเตือน 142 ราย 4. เปรียบเทียบปรับ 499 ราย 5. แจ้งการจัดระเบียบเมืองอื่น ๆ* 124 เรื่อง 6. ดำเนินการแก้ไข 123 เรื่อง *หมายเหตุ แจ้งการจัดระเบียบเมืองด้านอื่นๆ เช่น ฝาท่อระบายน้ำชำรุด การขุดลอกท่อระบายน้ำ ทางเท้าชำรุด เสาไฟฟ้าดับไม่ส่องสว่าง ฯลฯ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. การสร้างความร่วมมือเพื่อการจัดระเบียบเมือง เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน หน่วยงาน องค์กร ฯลฯ ในระดับความร่วมมือ (Collaboration) ซึ่งมีเป้าหมายสำคัญอยู่ที่การสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามาเป็นหุ้นส่วนกับกรุงเทพมหานครตั้งแต่การระบุปัญหา การพัฒนาทางเลือก และการกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา เพื่อให้เมืองมีภูมิทัศน์ที่สะอาด เรียบร้อย สะดวกและสวยงาม 2. เครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดระเบียบเมือง หมายถึง กลุ่มคน หรือองค์กร มูลนิธิ ชมรม สมาคม กลุ่ม หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคธุรกิจ ที่สำนักเทศกิจได้ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนหรือทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อวางแผน ผลักดัน ดูแล รักษาและพัฒนาให้เมืองมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด สวยงาม 3. การจัดระเบียบเมือง หมายถึง กระบวนการที่เครือข่าย/ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีการกระทำร่วมกัน หรือมีส่วนร่วมกันในด้านสังคม เพื่อให้เกิดการประพฤติปฏิบัติตามรูปแบบ แบบแผน หลักเกณฑ์ วิธีการที่กรุงเทพมหานครกำหนดขึ้น เพื่อให้เมืองมีภูมิทัศน์ที่สะอาด สวยงาม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจำนวนเครือข่าย และผลการดำเนินงานที่ทำได้เทียบกับระดับความสำเร็จ 5 ระดับ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลจากแผน/รายงานการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง