รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของการจัดระเบียบทางเท้า (สนท.2566) : 1500-2078

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
3.00

0 / 0
3
4.00
100
100 / 100
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ขออนุมัติโครงการ มีบัญชีข้อมูลถนนทางเท้าตามโครงการ มีแผนงานแนวทางการปฏิบัติงานสำนักเทศกิจ มีแนวทางการปฏิบัติงานสำนักงานเขต เวียนหนังสือแจ้งสำนักงานเขต ประชุมชี้แจงโครงการ ประชาสัมพันธ์กับประชาชน สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบ กวดขัน กำกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต 1,590 ครั้ง เฉลี่ย 2 ครั้ง ต่อเส้นทาง ต่อเดือน -ผลดำเนินงาน สำนักเทศกิจ ขณะออกตรวจพบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 4 ครั้ง ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 4 ครั้ง สำนักงานเขต ขณะออกตรวจพบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 468 ครั้ง ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 488 ครั้ง เปรียบเทียบปรับ 123,200 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบ กวดขัน กำกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต จำนวน 1,590 ครั้ง รวม 249 ถนน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อถนนต่อเดือน ผลดำเนินงาน (มกราคม - มีนาคม 2566) 1. สำนักเทศกิจ ขณะออกตรวจพบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 0 ครั้ง ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 0 ครั้ง 2. สำนักงานเขต มีผลดำเนินงานดังนี้ 2.1 พบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 549 ราย 2.2 ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 548 ราย 2.3 เปรียบเทียบปรับ 109 ราย เป็นเงิน 101,800 บาท 2.4 ร้องเรียน ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ 1555 จำนวน – ครั้ง 3. จัดทำรายงานการประเมินผลการตรวจพื้นที่และการจัดความเป็นระเบียบบริเวณพื้นที่ทางเท้าในเชิงปริมาณ เป็นรายเดือน และนำเสนอผู้บริหารสำนักเทศกิจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบ กวดขัน กำกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต จำนวน 1,590 ครั้ง รวม 249 ถนน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อถนนต่อเดือน ผลดำเนินงาน (เมษายน - มิถุนายน 2566) 1. สำนักเทศกิจ ขณะออกตรวจพบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 0 ครั้ง ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 0 ครั้ง 2. สำนักงานเขต มีผลดำเนินงานดังนี้ 2.1 พบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 1,102ราย 2.2 ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 1,102 ราย 2.3 เปรียบเทียบปรับ 127 ราย เป็นเงิน 110,100 บาท 2.4 ร้องเรียน ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ 1555 จำนวน – ครั้ง 3. จัดทำรายงานการประเมินผลการตรวจพื้นที่และการจัดความเป็นระเบียบบริเวณพื้นที่ทางเท้าในเชิงปริมาณ เป็นรายเดือน และนำเสนอผู้บริหารสำนักเทศกิจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบ กวดขัน กำกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต จำนวน 1,590 ครั้ง รวม 249 ถนน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อถนนต่อเดือน ผลดำเนินงาน (กรกฏาคม - สิงหาคม2566) 1. สำนักเทศกิจ ขณะออกตรวจพบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 0 ครั้ง ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 0 ครั้ง 2. สำนักงานเขต มีผลดำเนินงานดังนี้ 2.1 พบปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย 368 ราย 2.2 ปรับปรุง/แก้ไขแล้ว 368 ราย 2.3 เปรียบเทียบปรับ 46 ราย เป็นเงิน 76,800 บาท 2.4 ร้องเรียน ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ 1555 จำนวน – ครั้ง 3. จัดทำรายงานการประเมินผลการตรวจพื้นที่และการจัดความเป็นระเบียบบริเวณพื้นที่ทางเท้าในเชิงปริมาณ เป็นรายเดือน และนำเสนอผู้บริหารสำนักเทศกิจ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ทางเท้า หมายถึง พื้นที่ที่ทำไว้สำหรับคนเดินซึ่งอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของทาง หรือทั้งสองข้างของทาง หรือส่วนที่อยู่ชิดขอบทางซึ่งใช้เป็นที่สำหรับคนเดินตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 2. ความเป็นระเบียบ หมายถึง สภาพพื้นที่บริเวณทางเท้ามีความสะอาด น่ามองมีเสน่ห์ มีความปลอดภัยสร้างความมั่นใจในการใช้ชีวิตประจำวัน มีการกระทำตามระเบียบ ข้อบังคับและอื่น ๆ ที่ทางราชการกำหนด ไม่พบการยื่น ล้ำ ตั้ง วาง สิ่งของหรือสิ่งอื่นใด ไม่พบการขูด กะเทาะ ขีด เขียน พ่นสี ไม่พบการทิ้งสิ่งปฏิกูลมูลฝอยหรือสิ่งอื่นใดตกหล่น รั่วไหล ปลิว ฟุ้งบนพื้นที่ ไม่มีการจอด ขับขี่ยานยนต์ หรือไม่มีการกระทำการอื่นใดในลักษณะกีดขวางการสัญจรหรือก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญหรืออันตรายแก่ผู้อื่นและมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 3. การจัดความเป็นระเบียบ หมายถึง การตรวจตรา ตรวจการ บังคับการ ควบคุม กำกับ กวดขัน และดูแลพื้นที่บริเวณทางเท้าให้เป็นไปตามนิยามข้อที่ 2 4. ระดับความสำเร็จ หมายถึง ความสำเร็จในการดำเนินการตามภารกิจของสำนักเทศกิจครบตามขั้นตอนที่กำหนดไว้

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผลการดำเนินงานที่ทำได้เทียบกับระดับความสำเร็จ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลจากแผน/รายงานการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง