ค่าเป้าหมาย ร้อยละ (ลดลง) : 70
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ (ลดลง) : 73.14
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 สำนักเทศกิจได้ดำเนินการติดตาม เฝ้าระวังและตรวจตราการแก้ไขพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ 1. สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานเขตในการตรวจตราเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ เพื่อลดปัจจัยหรือความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยออกปฏิบัติงานรายเดือน จำนวน 618 ครั้ง/เดือน คิดเฉลี่ยเป็น 2 ครั้ง/จุด/เดือน 2. สำนักงานเขตจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ฝ่ายเทศกิจ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจการณ์เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ และตรวจตราสภาพแวดล้อมของพื้นที่เสี่ยงฯ และบริเวณโดยรอบ เพื่อคงสภาพพื้นที่หรือเพื่อจะได้ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ โดยมีจำนวนการปฏิบัติงานรวม 56,856 ครั้ง ค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานฯ 2 ครั้ง/จุด/วัน 3. ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยไม่พบการเกิดอาชญากรรมในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ และสำนักงานเขตได้ประสานขอข้อมูลสถิติคดีที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตจากสถานีตำรวจนครบาลพื้นที่ ปรากฏว่าไม่มีคดี
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม 2566 สำนักเทศกิจได้ดำเนินการติดตาม เฝ้าระวังและตรวจตราการแก้ไขพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ 1. สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานเขตในการตรวจตราเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ เพื่อลดปัจจัยหรือความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยออกปฏิบัติงานรายเดือน จำนวน 618 ครั้ง/เดือน คิดเฉลี่ยเป็น 2 ครั้ง/จุด/เดือน 2. สำนักงานเขตจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ฝ่ายเทศกิจ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจการณ์เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ และตรวจตราสภาพแวดล้อมของพื้นที่เสี่ยงฯ และบริเวณโดยรอบ เพื่อคงสภาพพื้นที่หรือเพื่อจะได้ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ โดยมีจำนวนการปฏิบัติงานรวม 55,620 ครั้ง ค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานฯ 2 ครั้ง/จุด/วัน 3. ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยไม่พบการเกิดอาชญากรรมในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ และสำนักงานเขตได้ประสานขอข้อมูลสถิติคดีที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตจากสถานีตำรวจนครบาลพื้นที่ ปรากฏว่าไม่มีคดี
เดือนเมษายน - พฤษภาคม 2566 สำนักเทศกิจได้ดำเนินการติดตาม เฝ้าระวังและตรวจตราการแก้ไขพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ 1. สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานเขตในการตรวจตราเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ เพื่อลดปัจจัยหรือความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยออกปฏิบัติงานรายเดือน จำนวน 618 ครั้ง/เดือน คิดเฉลี่ยเป็น 2 ครั้ง/จุด/เดือน 2. สำนักงานเขตจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ฝ่ายเทศกิจ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจการณ์เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ และตรวจตราสภาพแวดล้อมของพื้นที่เสี่ยงฯ และบริเวณโดยรอบ เพื่อคงสภาพพื้นที่หรือเพื่อจะได้ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ โดยมีจำนวนการปฏิบัติงานรวม 55,620 ครั้ง ค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานฯ 2 ครั้ง/จุด/วัน 3. ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยไม่พบการเกิดอาชญากรรมในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ และสำนักงานเขตได้ประสานขอข้อมูลสถิติคดีที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตจากสถานีตำรวจนครบาลพื้นที่ ปรากฏว่าไม่มีคดี 4. พื้นที่เสี่ยงได้รับการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 141 จุด
สำนักเทศกิจได้ดำเนินการติดตาม เฝ้าระวังและตรวจตราการแก้ไขพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ 1. สำนักเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานเขตในการตรวจตราเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ เพื่อลดปัจจัยหรือความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยออกปฏิบัติงานรายเดือน จำนวน 618 ครั้ง/เดือน คิดเฉลี่ยเป็น 2 ครั้ง/จุด/เดือน 2. สำนักงานเขตจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ฝ่ายเทศกิจ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจการณ์เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงฯ และตรวจตราสภาพแวดล้อมของพื้นที่เสี่ยงฯ และบริเวณโดยรอบ เพื่อคงสภาพพื้นที่หรือเพื่อจะได้ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงพื้นที่เสี่ยงฯ ค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานฯ 2 ครั้ง/จุด/วัน 3. ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยไม่พบการเกิดอาชญากรรมในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ และสำนักงานเขตได้ประสานขอข้อมูลสถิติคดีที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตจากสถานีตำรวจนครบาลพื้นที่ ปรากฏว่าไม่มีคดี 4. พื้นที่เสี่ยงฯ 309 จุด ได้รับการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 226 จุด คิดเป็นร้อยละ 73.14
1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2565 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2565 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย ตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ
คำนวณร้อยละของพื้นที่โดยรวมดังนี้ y= ((x×100))/n y = ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงที่ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อม x = จำนวนของพื้นที่เสี่ยงที่ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมตามเงื่อนไขที่กำหนด n = จำนวนของพื้นที่เสี่ยงทั้งหมดที่ต้องดำเนินการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อม
เก็บข้อมูลจากผลการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
:๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1% |
:๑.๑.๑.๓ เพิ่มความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม |