ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. ศึกษารายละเอียดข้อมูลโครงการ 2. ประชุมหัวหน้าฝ่ายเทศกิจ 50 เขต เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2565 ณ ห้องรัตนโกสินทร์ 3. ขออนุมัติโครงการ “ เพิ่มประสิทธิภาพเกี่ยวกับด้านความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง” ( กรณีการค้าหาบเร่ – แผงลอย) 4. ประชุมหัวหน้าฝ่ายเทศกิจ 50 เขต เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2565 ณ สำนักเทศกิจ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ 4.1 การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการติดตามการจัดระเบียบหาบเร่-แผงลอย ตามคำสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ 2723/2565 4.2 การจัดระเบียบผู้ค้าตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 3 ระยะ 4.3 การสำรวจการขึ้นทะเบียนผู้ค้าหาบเร่-แผงลอย 5. อยู่ระหว่างดำเนินการจัดระเบียบ ผู้ค้าให้เป็นไปตามแผนการดำเนินการ
เดือนมกราคม 2566 1. สำนักเทศกิจมีหนังสือเวียนแจ้งและกำชับให้สำนักงานเขตถือปฏิบัติ 1.1 หนังสือที่ กท 1403/145 ลงวันที่ 13 มกราคม 2566 1.2 หนังสือที่ กท 1403/271 ลงวันที่ 20 มกราคม 2566 1.3 หนังสือวิทยุด่วนที่สุด ที่ กท 1403 / 124 ลงวันที่ 11 มกราคม 2566 2. สำนักเทศกิจมีหนังสือรายงานปลัดกรุงเทพมหานคร 2.1 หนังสือที่ กท 1403/10 ลงวันที่ 10 มกราคม 2566 2.2 หนังสือที่ กท 1403 / 203 ลงวันที่ 18 มกราคม 2566 2.3 หนังสือที่ กท 1403 / 256 ลงวันที่ 19 มกราคม 2566 2.4 หนังสือที่ กท 1403 / 208 ลงวันที่ 30 มกราคม 2566 3. สำนักเทศกิจประชุมร่วมกับสำนักงานเขตทั้ง 50 เขต เพื่อซักซ้อมแนวทางการจัดระเบียบหาบเร่- แผงลอย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566 4. สำนักเทศกิจให้เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ตรวจจุดทำการค้าทั้ง 95 จุด และรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านระบบ Google form กุมภาพันธ์ 2566 1. ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานครรายงานผลการตรวจพื้นที่ต่อปลัดกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ตามหนังสือที่ กท 0400.1/59 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งปลัดกรุงเทพมหานครได้มีบัญชาให้สำนักเทศกิจดำเนินการตามที่ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานครเสนอ และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายจักกพันธุ์ ผิวงาม รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครปฏิบัติราชการแทนผู้ว่าราชการกรุงเทพมมหานคร) ได้มีบัญชาสั่งการให้สำนักเทศกิจพิจารณาสรุปรายงานผลการตรวจสอบพื้นที่ทำการค้าของผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร แล้วรายงานผลให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครทราบ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการรายงานรายผล 2. รายงานผลการลงทะเบียนผู้ค้าในจุดและนอกจุดต่อผู้บริหารสำนักเทศกิจ เดือนมีนาคม 2566 1. รายงานผลการลงทะเบียนผู้ค้าต่อผู้อำนวยการสำนักเทศกิจ 2. สำนักเทศกิจมีหนังสือแจ้งให้สำนักงานเขตตรวจสอบการลงทะเบียนผู้ค้า 3. เจ้าหน้าที่รายงานผลการดำเนินการตรวจพื้นที่ทำการค้า 95 จุด ต่อผู้บริหารผ่านGoogle Form 4. สำนักเทศกิจมีบัญชีพื้นที่ได้รับอนุญาตให้ทำการค้าจำนวน 95 จุด ผู้ค้า จำนวน 2,280 คน
เดือนเมษายน – มิถุนายน 2566 1. สำนักเทศกิจมีหนังสือเวียนแจ้งและกำชับให้สำนักงานเขตถือปฏิบัติ 1.1 หนังสือที่ กท 1403/3368 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 1.2 หนังสือที่ กท 1403/3448 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 1.3 หนังสือที่ กท 1403/3670 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2566 1.4 หนังสือที่ กท 1403/4281 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2566 2. สำนักเทศกิจมีหนังสือรายงานปลัดกรุงเทพมหานคร 2.1 หนังสือที่ กท 1403/ 882 ลงวันที่ 19 เมษายน 2566 2.2 หนังสือที่ กท 1403 /2092 ลงวันที่ 24 เมษายน 2566 2.3 หนังสือที่ กท 1403 / 1116 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 2.4 หนังสือที่ กท 1403 / 208 ลงวันที่ 30 มกราคม 2566 2.5 หนังสือที่ กท 1403 / 297 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 3. สำนักเทศกิจประชุมร่วมกับสำนักงานเขตทั้ง 50 เขต เพื่อซักซ้อมข้อราชการที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านเทศกิจ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2566 ณ ห้องกรุงธน 3 สำนักเทศกิจ 4. สำนักเทศกิจให้เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ตรวจจุดทำการค้าทั้ง 95 จุด และรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านระบบ Google form 5. ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานครรายงานผลการตรวจพื้นที่ต่อปลัดกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ตามหนังสือที่ กท 0400.1/319 ลงวันที่ 28 เมษายน 2566 ซึ่งปลัดกรุงเทพมหานครได้มีบัญชาให้สำนักเทศกิจดำเนินการตามที่ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานครเสนอ 6. ขออนุญาตแก้ไขข้อมูลผู้ค้านอกพื้นที่ทำการค้าต่อผู้อำนวยการสำนักเทศกิจ ประกอบด้วย 6.1 สำนักงานเขตวังทองหลาง 6.2 สำนักงานเขตสวนหลวง 6.3 สำนักงานเขตห้วยขวาง 6.4 สำนักงานเขตบางคอแหลม 6.5 สำนักงานเขตบางนา 6.6 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 6.7 สำนักงานเขตบางเขน 6.8 สำนักงานเขตสาทร 6.9 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 6.10 สำนักงานเขตวัฒนา
สรุป พื้นที่ทำการค้า จำนวน 95 จุด ดังนี้ 1.1 บริเวณพื้นที่ทำการค้าตามประกาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 55 จุด ได้แก่ 1.1.1 บริเวณพื้นที่ทำการค้า ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กำหนดให้ทางเท้า ถนนข้าวสารเป็นพื้นที่ทำการค้า ลงวันที่ 6 มีนาคม 2563 จำนวน 1 จุด 1.1.2 บริเวณพื้นที่ทำการค้า ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กำหนดให้ที่สาธารณะเป็นพื้นที่ทำการค้า ลงวันที่ 18 กันยายน 2563 จำนวน 3 จุด 1.1.3 บริเวณพื้นที่ทำการค้า ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กำหนดให้ที่สาธารณะเป็นพื้นที่ทำการค้า ลงวันที่ 17 มีนาคม 2565 จำนวน 47 จุด 1.1.4 บริเวณพื้นที่ทำการค้า ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กำหนดให้ที่สาธารณะเป็นพื้นที่ทำการค้า ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2565 จำนวน 4 จุด 1.2 บริเวณพื้นที่ทำการค้า อยู่ระหว่างรอประกาศ จำนวน 31 จุด (ทั้ง 31 จุดได้รับความเห็นชอบจากกองบัญชาการตำรวจนครบาลแล้ว ตามหนังสือ ที่ ตช 0015.134/8571 ลงวันที่ 29 ก.ค. 64) 1.3 บริเวณพื้นที่ทำการค้า ที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 9 จุด สรุป พื้นที่ทำการค้ามีความเป็นระเบียบเรียบร้อยตามหลักเกณฑ์ จำนวน 94 จุด ส่วนอีก 1 จุด ได้แก่ จุดทำการค้าซอยอารีย์ 1 สำนักงานเขตพญาไท อยู่ระหว่างดำเนินการยกเลิกจุดซึ่งขณะนี้ไม่มีผู้ค้าแล้ว
1. บัญชีข้อมูล หมายถึง 1. บัญชีข้อมูลจุดทำการค้าหาบเร่-แผงลอยที่อนุญาตให้ทำการค้าตามประกาศกรุงเทพมหานคร 2. บัญชีผู้ค้าหาบเร่-แผงลอยที่ได้รับอนุญาตให้ทำการค้า ณ จุดทำการค้าหาบเร่-แผงลอยตามประกาศกรุงเทพมหานคร 3. บัญชีข้อมูลจุดทำการค้าหาบเร่-แผงลอย นอกจุดอนุญาตให้ทำการค้าตามประกาศกรุงเทพมหานคร ตามข้อ 1 4. บัญชีผู้ค้าหาบเร่-แผงลอย นอกจุดอนุญาตให้ทำการค้าตามประกาศกรุงเทพมหานคร ตามข้อ 3 2. พื้นที่ทำการค้าหาบเร่-แผงลอย หมายถึง 1. พื้นที่ที่ได้รับอนุญาตให้ทำการค้าตามประกาศกรุงเทพมหานคร และ/หรือ 2. พื้นที่ที่ไม่รับอนุญาตตามประกาศกรุงเทพมหานคร แต่กำหนดให้เป็นพื้นที่ผ่อนผันทำการค้าชั่วคราว 3. ระดับความสำเร็จ หมายถึง ความสำเร็จในการดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงานครบตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
ผลการดำเนินงานที่ทำได้เทียบกับระดับความสำเร็จ
เก็บข้อมูลจากแผน/รายงานการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน
:ยุทธศาสตร์ที่ ๔ –การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ |
:๔.๓ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีรูปแบบการจัดการภูมิทัศน์เมืองอย่างยั่งยืน |
:๔.๓.๑ กรุงเทพมหานครมีการปรับปรุงองค์ประกอบทางภูมิทัศน์เมืองและส่งเสริมอัตลักษณ์และทัศนียภาพในการรับร% |
:๔.๓.๑.๒ ปรับปรุงบริเวณสำคัญตามที่ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะที่สอดคล้องกับผังเมืองรวม หรือพิจารณาเพิ่มเติมในอนาคต ให้มีองค์ประกอบทาง ภูมิทัศน์เมืองเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์และทัศนียภาพในการรับรู้ของเมือง |