รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4. ระดับความสำเร็จในการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ : 1700-933

ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ : 0

ผลงานที่ทำได้ ผลลัพธ์ :

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ผลลัพธ์)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ระดับความสำเร็จในการบูรณาการ หมายถึง การเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่นๆ โดยเป็นการร่วมมือกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระดับ 1 กำหนดเป้าหมายผลผลิตและจัดการประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจกำหนดให้มีคณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานภายใต้ตัวชี้วัดนี้ ประกอบด้วย สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการโยธา สำนักเทศกิจ สำนักงานประชาสัมพันธ์ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และผู้แทนกลุ่มปฏิบัติงานสำนักงานเขต จำนวน 6 กลุ่มเขต ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องบูรณาการร่วมกันเพื่อผลักดันภารกิจในความรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมายตามมติที่ประชุมร่วม โดย 1.1 จัดการประชุมร่วมทุกหน่วยงาน เพื่อกำหนดภารกิจร่วมกัน ตกลงค่าเป้าหมายของผลผลิต และขับเคลื่อนตัวชี้วัดสู่ผลสัมฤทธิ์ ภายในเดือนธันวาคม 2565 1.2 จัดประชุมร่วมกับหน่วยงานเฉพาะหน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อประสานงานร่วมกัน ติดตามความคืบหน้าในการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินการ (เริ่มต้นดำเนินงานตามตัวชี้วัด/รายงานความก้าวหน้า/สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด) ตลอดปีงบประมาณที่ประเมิน ระดับ 2 รวบรวมแผนปฏิบัติการ (Action Plan) บันทึกส่งมอบผลผลิต และผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับ 3 รวบรวม และประมวลผลสถิติจำนวนผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จากบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด หรือแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระดับ 4 รายงานความคืบหน้าการบริหารจัดการระหว่างหน่วยงานเพื่อการแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ แบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา คือ ระยะครึ่งปี (10 เม.ย. ) และสิ้นปี (15 ก.ย. ) ของงบประมาณที่ประเมิน จัดส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลตามรูปแบบและแนวทางที่กำหนด ระดับ 5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานการแก้ไขอุบัติเหตุทางถนนในภาพรวมทั้งหมด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง ประเมินผล ซึ่งอย่างน้อยจะต้องประกอบไปด้วย ฐานข้อมูลจุดเสี่ยง แผนงาน การประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน และผลผลิตของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสถิติจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารกรุงเทพมหานคร หมายเหตุ หากมีกรณีอุบัติเหตุที่เป็นที่จับตามองของสังคมในช่วงปีงบประมาณที่ประเมิน หน่วยงานจะต้องนำมาศึกษาเหตุการณ์และหาแนวทางป้องกันที่จะเกิดเหตุ (แล้วแต่กรณี) พร้อมเผยแพร่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ/หรือเจ้าของพื้นที่ ให้ทราบและได้รับการตอบรับภายใน ๒๔ ชม. เพื่อดำเนินการ และหน่วยงานเริ่มดำเนินการแก้ไขภายใน ๑ เดือน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ
:๑.๒.๒ ลดอุบัติเหตุทางถนน%
:๑.๒.๒.๒ การตรวจสอบสภาพถนนและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot)

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง