รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

2. ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกที่แหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ เมื่อเทียบกับปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมดของปีงบประมาณ : 1700-944

ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ : 0

ผลงานที่ทำได้ ผลลัพธ์ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ผลลัพธ์)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
26.00

0 / 0
2
50.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- แต่งตั้งคณะทำงาน - จัดประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 - ประชุมพนักงานทำความสะอาด เพื่อสร้างความเข้าใจในแนวทางปฏิบัติ - ทุกส่วนราชการมอบหมายผู้ตรวจสอบการทำกิจกรรม ของส่วนราชการ - ตั้งวางถังคัดแยกขยะในอาคาร และถังพักรวมขยะนอกอาคาร - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางหนังสือเวียน และโซเชียลมีเดีย ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบ และปฏิบัติ - ผู้ตรวจสอบการทำกิจกรรมประจำส่วนราชการ ตรวจสอบการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุกวัน - แม่บ้านชั่งน้ำหนักและจดบันทึกปริมาณขยะทุกวัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางหนังสือเวียน และโซเชียลมีเดีย ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบ และปฏิบัติ - ผู้ตรวจสอบการทำกิจกรรมประจำส่วนราชการ ตรวจสอบการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุกวัน - แม่บ้านชั่งน้ำหนักและจดบันทึกปริมาณขยะทุกวัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

มูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ยกเว้นวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของโรงงานซึ่งมีลักษณะและคุณสมบัติที่กำหนดไว้ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน การคัดแยกขยะ หมายถึง การคัดแยกประเภทของขยะ ซึ่ง สจส. ได้ทำการคัดแยกประเภทขยะ ดังนี้ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะเศษอาหาร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำไปใช้ประโยชน์ × 22 ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมดของปีงบประมาณ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง%
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง