รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการออกแบบป้ายสื่อความหมายย่านตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่องตามแนวทางเดินที่เชื่อมโยงสู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาในย่านตลาดน้อย : 1800-862

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
3.00

0 / 0
3
4.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการออกแบบป้ายบอกทางและบอกสถานที่สำคัญ สำรวจพื้นที่ ตำแหน่งและสถานที่ติดตั้งป้าย จัดทำผังตำแหน่งป้าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินการออกแบบป้ายบอกทาง และบอกสถานที่สำคัญเรียบร้อยแล้ว 2.จัดป้ายบอกสถานที่และเส้นทาง (ป้ายแบบทดลอง) และติดตั้งในตำแหน่งที่กำหนดไว้ 2.ติดตั้งป้าย QR Code แบบสอบถามความพึงพอใจ ของประชาชนต่อป้ายสัญลักษณ์ในพื้นที่ตลาดน้อย เพื่อให้ผู้สัญจรประเมินความพึงพอใจ 3.สรุปผลแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จัดทำป้ายฯ (แบบทดลอง) ติดตั้งในตำแหน่งที่กำหนดไว้ 2. ประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ในการออกแบบป้ายและกำหนดจุดติดตั้งรวบรวม ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรมในย่านตลาดน้อย 3.จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลการประเมินความพึงพอใจในการออกแบบป้ายฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.จัดทำป้ายฯ (แบบทดลอง) ติดตั้งในตำแหน่งที่กำหนดไว้ 2. ประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ในการออกแบบป้ายและกำหนดจุดติดตั้งรวบรวม ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรมในย่านตลาดน้อย 3.จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลการประเมินความพึงพอใจในการออกแบบป้ายฯ เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ป้ายสื่อความหมายย่านตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง หมายถึง ป้ายแสดงข้อมูลและป้ายบอกเส้นทางสถานที่สำคัญหรือสถานที่ท่องเที่ยว ที่มีเอกลักษณ์ในบริเวณย่าน ตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง - แนวทางเดินที่เชื่อมโยงสู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาในย่านตลาดน้อย ได้แก่ ซอยวานิช 2 ซอยดวงตะวัน ซอยศาลเจ้าโรงเกือก ซอยภาณุรังษี ซอยโจวซือกง ซอยเจ้าสัวสอน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

พิจารณาความสำเร็จของกระบวนการในแต่ละขั้นตอน โดยนับร้อยละความสำเร็จของออกแบบป้ายสื่อความหมายย่านตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ตามแนวทางเดินที่เชื่อมโยงสู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๔ –การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ
:๔.๓ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีรูปแบบการจัดการภูมิทัศน์เมืองอย่างยั่งยืน
:๔.๓.๑ กรุงเทพมหานครมีการปรับปรุงองค์ประกอบทางภูมิทัศน์เมืองและส่งเสริมอัตลักษณ์และทัศนียภาพในการรับร%
:๔.๓.๑.๓ อนุรักษ์และฟื้นฟูย่าน (Districts) ตามผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะที่สอดคล้องกับผังเมืองรวม หรือพิจารณาเพิ่มเติมในอนาคตที่มีอัตลักษณ์และ พัฒนาพื้นที่ชุมชนอันมีความเป็นเอกลักษณ์ของในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง