ค่าเป้าหมาย นาที : 8
ผลงานที่ทำได้ นาที : 90
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. เดือน ตุลาคม เกิดเหตุ 5 ครั้ง ครั้งที่ 1 จุดเกิดเหตุ บ้านสราญคอนโดมิเนียม 194/1-45 ซอยสุขุมวิท 31 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ คลองเตย) ครั้งที่ 2 จุดเกิดเหตุ 18 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงทุ่งวัดดอน ใช้เวลา 6 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ถนนจันทร์) ครั้งที่ 3 จุดเกิดเหตุ 11 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 7 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงทุ่งมหาเมฆ ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ทุ่งมหาเมฆ) ครั้งที่ 4 จุดเกิดเหตุ 62/19-20 ซอยธนิยะ ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ ใช้เวลา 9 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ บางรัก) ครั้งที่ 5 จุดเกิดเหตุ ร้านเชลล์ วี มีท 322/16 ซอยรัชดาภิเษก 3 แยก 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง ใช้เวลา 14 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 3 / สด.พ ห้วยขวาง) รวมเดือนตุลาคม 5 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.48 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 3 ครั้ง 2. เดือน พฤศจิกายน เกิดเหตุ 13 ครั้ง ครั้งที่ 1 จุดเกิดเหตุ ชุมชน 70 ไร่ โซน 1 ซอย 19 เลขที่ 100/665 ถนนดำรงลัทธพิพัฒน์ แขวงคลองเตย ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ คลองเตย) ครั้งที่ 2 จุดเกิดเหตุ 96/1 ซอยเอกมัย 10 ถนนเอกมัย แขวงพระโขนงเหนือ ใช้เวลา 6 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ บางกะปิ) ครั้งที่ 3 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 6 แยกพิชัย 1 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงทุ่งวัดดอน ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ถนนจันทน์) ครั้งที่ 4 จุดเกิดเหตุ ม.เบญจธานี 1000/17 ซอยเจริญราษฎร์ 7 แยก 10 ถนนเจริญราษฎร์ แขวงบางโคล่ ใช้เวลา 8 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ยานนาวา) ครั้งที่ 5 จุดเกิดเหตุ 14/49 ซอยเจริญกรุง 107 แยก 2 ถนนเจริญกรุง แขวงบางคอแหลม ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ยานนาวา) ครั้งที่ 6 จุดเกิดเหตุ ด็อกเตอร์เมฆคลินิก 114-128 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ ใช้เวลา 4 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ บรรทัดทอง) ครั้งที่ 7 จุดเกิดเหตุ 136/22 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 30 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี ใช้เวลา 2 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ถนนจันทร์) ครั้งที่ 8 จุดเกิดเหตุ ร้านอาหารรสแกงใต้ 757 ถนนสีลม แขวงสีลม ใช้เวลา 2 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ บางรัก) ครั้งที่ 9 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ซอยอาร์ซีเอ ถนนจตุรทิศ แขวงบางกะปิ ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ บางกะปิ) ครั้งที่ 10 จุดเกิดเหตุ ร้านเอ็ดดี้ จิวเวลรี่ 123 ถนนตะนาว แขวงบวรนิเวศ ใช้เวลา 3 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ ภูเขาทอง) ครั้งที่ 11 จุดเกิดเหตุ 9/6 ซอยประชาสงเคราะห์ 14 แยก 2 ถนนประชาสงเคราะห์ แขวงดินแดง ใช้เวลา 9 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ ห้วยขวาง) ครั้งที่ 12 จุดเกิดเหตุ บ. เมจิคสตาร์เอสเอช จำกัด 488 ซอยรัชดานิเวศน์ 12 ถนนประชาอุทิศ แขวงสามเสนนอก ใช้เวลา 10 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ ห้วยขวาง) ครั้งที่ 13 จุดเกิดเหตุ พรสุขแมนชั่น 7/21 ซอยปรีดีพนมยงค์ 5 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ ใช้เวลา 12 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ บางกะปิ) รวมเดือนพฤศจิกายน 13 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.28 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 10 ครั้ง 3. เดือน ธันวาคม เกิดเหตุ 9 ครั้ง ครั้งที่ 1 จุดเกิดเหตุ 331 ซอยข้างธนาคารกรุงไทย สาขาศรีย่าน ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี ใช้เวลา 4 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 3 / สด.พ บางโพ) ครั้งที่ 2 จุดเกิดเหตุ 5/1 ซอยอินทามระ 8 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ พหลโยธิน) ครั้งที่ 3 จุดเกิดเหตุ โรงแรมวีกรุงเทพ 117/39-40 ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท ใช้เวลา 3 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 4 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ถนนพระรามที่ 3 แขวงคลองเตย ใช้เวลา 6 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ คลองเตย) ครั้งที่ 5 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ซอยเจริญราษฎร์ 3 ถนนเจริญราษฎร์ แขวงทุ่งวัดดอน ใช้เวลา 8 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ยานนาวา) ครั้งที่ 6 จุดเกิดเหตุ 62/1 ซอยศรีอยุธยา 5 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท ใช้เวลา 8 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 7 จุดเกิดเหตุ 2/9 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ ใช้เวลา 10 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 8 จุดเกิดเหตุ 175 ซอยเจริญพร 1 ถนนพหลโยธิน 11 แขวงพญาไท ใช้เวลา 9 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ดุสิต) ครั้งที่ 9 จุดเกิดเหตุ 8 ซอยสามเสน 13 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล ใช้เวลา 10 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ สามเสน) รวมเดือนธันวาคม 9 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 6 ครั้ง 4. เดือน มกราคม เกิดเหตุ 8 ครั้ง ครั้งที่ 1 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 2 จุดเกิดเหตุ 5/16 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ บางกะปิ) ครั้งที่ 3 จุดเกิดเหตุ 5/16 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ ใช้เวลา 4 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 4 จุดเกิดเหตุ 11/9 ซอยพหลโยธิน 9 แยกกิ่งชำนาญอักษร ถนนพหลโยธิน แขวงพญาไท ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ ดุสิต) ครั้งที่ 5 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ซอยพระรามที่ 3 ซอย 68 ถนนพระรามที่ 3 แขวงช่องนนทรี ใช้เวลา 6 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ทุ่งมหาเมฆ) ครั้งที่ 6 จุดเกิดเหตุ 153 ซอยสุคันธาราม 19 ถนนสุคันธาราม แขวงสวนจิตรลดา ใช้เวลา 6 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ สามเสน) ครั้งที่ 7 จุดเกิดเหตุ 451/ 6 ซอยนนทรี 7 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ถนนจันทน์) ครั้งที่ 8 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา ใช้เวลา 2 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ บางรัก) รวมเดือนมกราคม 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5 นาที สรุป เกิน 8 นาที 0 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 8 ครั้ง รวม 4 เดือน 35 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.28 นาที สรุป เกิน 8 นาที 8 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 27 ครั้ง
1. เดือน กุมภาพันธ์ เกิดเหตุ 6 ครั้ง ครั้งที่ 1 จุดเกิดเหตุ ไม่มีเลขที่ ตรอกสะพานยาว ถนนทรงวาด แขวงจักรวรรดิ ใช้เวลา 7 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ สวนมะลิ) ครั้งที่ 2 จุดเกิดเหตุ ประตูน้ำเพรสตีจ คอนโดมิเนียม ซอยเพชรบุรี 15 ถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 1 / สด.พ พญาไท) ครั้งที่ 3 จุดเกิดเหตุ 9 ซอยจันทน์ 24 ถนนจันทน์ แขวงวัดทุ่งดอน ใช้เวลา 8 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ยานนาวา) ครั้งที่ 4 จุดเกิดเหตุ 78/1 ซอยสาธุประดิษฐ์ 34 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง ใช้เวลา 10 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ยานนาวา) ครั้งที่ 5 จุดเกิดเหตุ 4/189 ถนนอาจณรงค์ แขวงคลองเตย ใช้เวลา 9 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ คลองเตย) ครั้งที่ 6 จุดเกิดเหตุ 99/330 ซอยนนทรี 3 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี ใช้เวลา 5 นาที (รับผิดชอบโดย กปก. 2 / สด.พ ถนนจันทน์) รวมเดือนกุมภาพันธ์ 6 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.20 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 4 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 66.67
สรุปข้อมูละยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ตั้งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2566 ดังนี้ 1. เดือนมีนาคม 7 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.17 นาที สรุป เกิน 8 นาที 0 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง 2. เดือนเมษายน 6 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5.10 นาที สรุป เกิน 8 นาที 1 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 5 ครั้ง 3. เดือนพฤษภาคม เกิดเหตุ 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.15 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 6 ครั้ง
สรุปข้อมูละยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน - สิงหาคม 2566 ดังนี้ 1. เดือนมิถุนายน เกิดเหตุ 10 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5.54 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 8 ครั้ง 2. เดือนกรกฎาคม เกิดเหตุ 10 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.42 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง 3. เดือนสิงหาคม เกิดเหตุ 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.15 นาที สรุป เกิน 8 นาที 1 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง 4. สำหรับเดือนกันยายน 2566 อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูล
ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัย หมายถึง ระยะเวลาที่เริ่มนับจากเจ้าหน้าที่ออกจากสถานีดับเพลิงและกู้ภัยไป ถึงจุดเกิดเหตุเฉลี่ยไม่เกิน 8 นาที เฉพาะพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน พื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน หมายถึง พื้นที่ศูนย์กลางเมืองของกรุงเทพมหานครที่มีรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เป็นประเภทที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม สถาบันราชการ สถาบันการศึกษา ประกอบด้วย 15 เขต ได้แก่ เขตดุสิต เขตพญาไท เขตดินแดง เขตห้วยขวาง เขตราชเทวี เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ เขตพระนคร เขตยานนาวา เขตบางคอแหลม เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตคลองเตย และเขตวัฒนา
ผลรวมของระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเข้าถึงที่เกิดเหตุทั้งหมด หารด้วยจำนวนครั้งที่เกิดอัคคีภัยทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน
1. รายงานการเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่ชั้นในทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 2. มาตรการปฏิบัติงานประจำวัน / คำสั่งการจัดจุดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 3. รูปภาพ/สื่อวีดิทัศน์ (ถ้ามี)
:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
:๑.๓ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๓.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๓.๑.๓ เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอัคคีภัย EM |