รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จัดหายานพาหนะเพื่อดับเพลิงในที่แคบ : 1900-6559

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 23

ประเภทตัวชี้วัด :
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
13.00

0 / 0
3
22.00

0 / 0
4
23.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. กิจกรรมตรวจสอบจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร >> สำรวจจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร แบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบของสถานีดับเพลิงและกู้ภัย ดังนี้ - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 1 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 83 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 2 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 95 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 3 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 52 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 4 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 72 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 5 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 97 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 6 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 31 ชุมชน ทั้งนี้ อยู่ระหว่างดำเนินการของบประมาณเพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2. กิจกรรมศึกษาความเหมาะสมในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการเข้าระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้น >> สำรวจชุมชนพื้นที่คับแคบในกรุงเทพมหานครแล้ว อยู่ระหว่างของบประมาณ ปี พ.ศ. 2567 3. กิจกรรมดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ โดยการขยายผลจากการศึกษา >> อยู่ระหว่างของบประมาณ เพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กิจกรรมตรวจสอบจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร >> สำรวจจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร แบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบของสถานีดับเพลิงและกู้ภัย ดังนี้ - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 1 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 83 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 2 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 95 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 3 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 52 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 4 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 72 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 5 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 97 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 6 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 31 ชุมชน ทั้งนี้ อยู่ระหว่างดำเนินการของบประมาณเพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2. กิจกรรมศึกษาความเหมาะสมในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการเข้าระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้น >> ได้ดำเนินการสำรวจชุมชนพื้นที่คับแคบในกรุงเทพมหานครแล้ว และอยู่ระหว่างของบประมาณ ปี พ.ศ. 2567 3. กิจกรรมดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ โดยการขยายผลจากการศึกษา >> อยู่ระหว่างของบประมาณ เพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. กิจกรรมตรวจสอบจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร >> สำรวจจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร แบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบของสถานีดับเพลิงและกู้ภัย ดังนี้ - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 1 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 83 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 2 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 95 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 3 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 52 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 4 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 72 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 5 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 97 ชุมชน - กองปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย 6 มีพื้นที่คับแคบที่มีขนาดน้อยกว่า 3 เมตร = 31 ชุมชน ทั้งนี้ อยู่ระหว่างดำเนินการของบประมาณเพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2. กิจกรรมศึกษาความเหมาะสมในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการเข้าระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้น >> ได้ดำเนินการสำรวจชุมชนพื้นที่คับแคบในกรุงเทพมหานครแล้ว และอยู่ระหว่างของบประมาณ ปี พ.ศ. 2567 3. กิจกรรมดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ โดยการขยายผลจากการศึกษา >> อยู่ระหว่างของบประมาณ เพื่อดำเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ยานพาหนะเพื่อดับเพลิงในที่แคบ หมายถึง รถดับเพลิงขนาดเล็ก เรือดับเพลิงขนาดเล็ก หรืออุปกรณ์เครื่องลากจูงหาบหาม ที่มีความจุน้ำ ปั๊มน้ำ และอุปกรณ์การระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้นในการเผชิญเหตุอัคคีภัยและสาธารณภัย ที่สามารถเพิ่มความคล่องตัว และลดระยะเวลาในการเข้าระงับเหตุให้ได้ตามมาตรฐานสากล

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๓ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๓.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๓.๑.๓ เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอัคคีภัย EM

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง