รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 1900-6575

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 10

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 90

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

0 / 0
2
20.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
90.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปรับปรุงชุดข้อมูลในระบบให้เป็นปัจจุบัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำ 1. คำสั่งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ 2. บัญชีรายการข้อมูลทั้งหมด 3. แผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณค่าสูงของหน่วยงาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 –2569)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 ส่งให้ สยป. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2566 ซึ่งประกอบด้วย - มีคำสั่งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐและคณะทำงาน บริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน - มีคำสั่งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐและคณะทำงาน บริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน และมีบัญชีรายการข้อมูลทั้งหมด - มีคำสั่งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐและคณะทำงาน บริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน - มีบัญชีรายการข้อมูลทั้งหมด และมีแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566-2569) 2. ได้จัดทำและปรับปรุงข้อมูลตามแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณค่าสูงของหน่วยงานในระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว และได้เผยแพร่บนศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร พร้อมคำอธิบายข้อมูลดิจิทัล และพจนานุกรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ได้จัดทำและปรับปรุงข้อมูลตามแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณค่าสูงของหน่วยงานในระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานครและเผยแพร่บนศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร พร้อมคำอธิบายข้อมูลดิจิทัล และพจนานุกรม ทั้งนี้ ได้นำชุดข้อมูลที่ได้จัดทำไปพัฒนาเป็น Dashboard ที่แสดงผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจตามภารกิจของหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ ในสื่อต่าง ๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ความสำเร็จของการพัฒนา ฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำฐานข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานฐานข้อมูลของหน่วยงาน เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา การปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการประเมินเชิงประจักษ์ในการพัฒนาฐานข้อมูลตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 4 ส่วน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง