ค่าเป้าหมาย นาที : 10
ผลงานที่ทำได้ นาที : 90
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. สถิติการเข้าถึงที่เกิดเหตุเพลิง ประจำเดือน ตุลาคม 2565 เหตุเกิด จำนวน 22 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 7.22 นาที ประจำเดือน พฤษจิกายน 2565 เหตุเกิด จำนวน 32 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.53 นาที ประจำเดือน ธันวาคม 2565 เหตุเกิด จำนวน 39 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.55 นาที ประจำเดือน มกราคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 36 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.58 นาที เวลาเฉลี่ยตั้งแต่ ต.ค.65 – ปัจจุบัน เวลาเฉลี่ย 8.40 นาที 2. กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ไม่เกิน 8 นาที >> สรุปสถิติการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน (ตั้งแต่ ต.ค. 65 - ธ.ค. 65) ดังนี้ - เดือนตุลาคม 5 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.48 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 3 ครั้ง - เดือนพฤศจิกายน 13 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.28 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 10 ครั้ง - เดือนธันวาคม 9 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 6 ครั้ง
1. กิจกรรมการจัดเก็บสถิติเวลาเฉลี่ยการเข้าระงับเหตุอัคคีภัย >> สถิติการเข้าถึงที่เกิดเหตุเพลิง (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566) ประจำเดือน มกราคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 36 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.58 นาที ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2566 เหตุเกิด จำนวน 32 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 9.24 นาที สรุป เวลาเฉลี่ยตั้งแต่ ต.ค.65 – ปัจจุบัน เวลาเฉลี่ย 8.48 นาที 2. กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ไม่เกิน 8 นาที >> สรุปสถิติการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน (ตั้งแต่ ม.ค. 66 - มี.ค. 66) ดังนี้ - เดือนมกราคม 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5 นาที สรุป เกิน 8 นาที 0 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 8 ครั้ง - เดือนกุมภาพันธ์ 6 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.20 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 4 ครั้ง - เดือนมีนาคม อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูล
1. กิจกรรมการจัดเก็บสถิติเวลาเฉลี่ยการเข้าระงับเหตุอัคคีภัย >> สถิติการเข้าถึงที่เกิดเหตุเพลิง (มีนาคม - พฤษภาคม 2566) ประจำเดือน มีนาคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 29 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 9.48 นาที ประจำเดือน เมษายน 2566 เหตุเกิด จำนวน 26 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.14 นาที ประจำเดือน พฤษภาคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 29 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 8.25 นาที สรุป เวลาเฉลี่ยตั้งแต่ ต.ค.65 – ปัจจุบัน เวลาเฉลี่ย 8.49 นาที ************************************ 2. กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ไม่เกิน 8 นาที >> สรุปสถิติการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน (ตั้งแต่ มี.ค. - พ.ค. 66) ดังนี้ - เดือนมีนาคม เกิดเหตุ 7 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.17 นาที สรุป เกิน 8 นาที 0 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง - เดือนเมษายน เกิดหตุ 6 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5.10 นาที สรุป เกิน 8 นาที 1 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 5 ครั้ง - เดือนพฤษภาคม เกิดเหตุ 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.15 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 6 ครั้ง
1. กิจกรรมการจัดเก็บสถิติเวลาเฉลี่ยการเข้าระงับเหตุอัคคีภัย >> สถิติการเข้าถึงที่เกิดเหตุเพลิง (มิถุนายน - สิงหาคม 2566) ประจำเดือน มิถุนายน 2566 เหตุเกิด จำนวน 29 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 7.08 นาที ประจำเดือน กรกฏาคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 32 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 9.30 นาที ประจำเดือน สิงหาคม 2566 เหตุเกิด จำนวน 30 ครั้ง เวลาเฉลี่ยเข้าถึงที่เกิดเหตุ 7.26 นาที สรุป เวลาเฉลี่ยตั้งแต่ ต.ค.65 – ปัจจุบัน เวลาเฉลี่ย 8.37 นาที ************************************ 2. กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน ไม่เกิน 8 นาที >> สรุปสถิติการเข้าถึงจุดเกิดเหตุอัคคีภัยในพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นใน (ตั้งแต่ มิ.ย. - ส.ค. 66) ดังนี้ - เดือนมิถุนายน เกิดเหตุ 10 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 5.54 นาที สรุป เกิน 8 นาที 2 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 8 ครั้ง - เดือนกรกฎาคม เกิดเหตุ 10 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 7.42 นาที สรุป เกิน 8 นาที 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง - เดือนสิงหาคม เกิดเหตุ 8 ครั้ง ใช้เวลาเฉลี่ย 6.15 นาที สรุป เกิน 8 นาที 1 ครั้ง ไม่เกิน 8 นาที 7 ครั้ง ทั้งนี้ สำหรับเดือนกันยายน 2566 อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูล
เวลาเฉลี่ย หมายถึง ระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้รับการแจ้งเหตุเกิดอัคคีภัยและออกปฏิบัติหน้าที่ถึงจุดพื้นที่ที่เกิดเหตุอัคคีภัยในระยะเวลาเฉลี่ยไม่เกิน 10 นาที
ผลรวมของระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเข้าถึงที่เกิดเหตุทั้งหมด หารด้วยจำนวนครั้งที่เกิดอัคคีภัยทั้งหมด
:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
:๑.๓ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๓.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๓.๑.๔ ลดความล่อแหลมและความเปราะบางของชุมชน |