ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 60
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1.ดำเนินการเสนอโครงการฯเข้ารับคำปรึกษาและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิโดยให้หารือร่วมกันกับกองพัฒนาระบบงานระบบ ERP และกองควบคุมระบบเครือข่าย สยป.ในประเด็นข้อมูลและทรัพยากรที่ต้องใช้ร่วมกัน Data Center 2. ประชุมบอร์ดอนุกรรมการฯ มีมติให้สำนักงานระบบงบประมาณปรับรายละเอียดและนำเสนอเข้าคณะอนุกรรมการฯอีกครั้ง ในวันที่ 13 มกราคม 2562
1.เสนอโครงการเข้ารับการพิจารณาจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 27 มกราคม 2563 / 2.รายงานผลการพิจารณาโครงการฯ ของคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563 เสอนผู้บริหารทราบ 3.เสนอขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2564
อยู่ระหว่างดำเนินการขอปรับตัวชี้วัดเนื่องจากติดมาตรการcovid
ดำเนินการโครงการ "พัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร (BMA PBIS : Performance based Budgeting Information System) ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว
ความสำเร็จในการจัดหาระบบสารสนเทศ หมายถึง ความสำเร็จตามขั้นตอนในการดำเนินการจัดหาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณ เพื่อสนับสนุนและรองรับการใช้งานตามกระบวนการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานสำหรับรองรับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 300 วัน
1. เสนอโครงการเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 20) 2. เสนอขออนุมัติโครงการต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 20) 3. จัดทำร่างขอบเขตของงานและรายละเอียดคุณลักษณะของงาน (ร้อยละ 20) 4. จัดสรรงบประมาณ (ร้อยละ 10) 5. ดำเนินการจัดหาตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 (ร้อยละ 10) 6. การก่อหนี้ผูกพัน (ลงนามในสัญญา) (ร้อยละ 10) 7. การบริหรสัญญาจนถึงการตรวจรับ (ร้อยละ 10)
ไม่มี
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๒ นำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมาใช้ภายในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ |