รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

3.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) : 2100-1031

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 17.54

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
42.50
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
17.54
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์โครงการลดใช้ไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า)ในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สยป.ได้รับมอบหมายให้ตรวจการดำเนินการแผนความร่วมมือมาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ของ สนค. ผลปรากฏว่าดำเนินการเป็นไปตามแผนฯ และ ส.ลป.ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการตรวจฯ สยป. ผลปรากฏว่าดำเนินการเป็นไปตามแผนที่ สยป. กำหนด และดำเนินการจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สยป.ได้รับมอบหมายให้ตรวจการดำเนินการแผนความร่วมมือมาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ของ สนค. ผลปรากฏว่าดำเนินการเป็นไปตามแผนฯ และ ส.ลป.ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการตรวจฯ สยป. ผลปรากฏว่าดำเนินการเป็นไปตามแผนที่ สยป. กำหนด และดำเนินการจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-(เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 7.5 ของปริมาณการใช้ไฟฟ้าเมื่อเทียบกับปริมาณค่าหน่วยการใช้ไฟฟ้าของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เล็งเห็นถึงปัญหาในการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ จนถึงขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ จึงขอเสนอโครงการการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการให้บริการกับหน่วยงานในการให้คำปรึกษาและจัดส่งโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการบริหารจัดการข้อมูลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในภาพรวมของฝ่ายเลขานุการฯ ในการจัดเตรียมรายละเอียดโครงการให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งผลให้คณะกรรมการฯ ได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถนำไปบูรณาการภาพรวมในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. วัดค่าเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับเรื่องจนได้รับมติที่ประชุมเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการดำเนินการเดิม 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 3. มีการจัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 4. มีคู่มือการเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลต่อคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 เล่ม

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. โครงการ/นิยามตัวชี้วัด 2. เอกสารแสดงค่าเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับเรื่องจนได้รับมติที่ประชุมเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการดำเนินการเดิม 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 4. เอกสารแสดงการจัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 5. คู่มือการเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลต่อคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 เล่ม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๑ มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง