รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มีการกำหนดหลักเกณฑ์รูปแบบในการนำระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมมาใช้ในระบบงบประมาณ กทม. : 2100-2009

ค่าเป้าหมาย ฉบับ : 1

ผลงานที่ทำได้ ฉบับ : 1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฉบับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
1.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประสานขอแต่งตั้งคณะทำงานกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประสานขอรายชื่อคณะทำงานจาก สงม. เพื่อดำเนินการยกร่างคำสั่งกรุงทพมหานคร แต่งตั้งคณะทำงานกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบฯ ต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ปรับแนวทางการดำเนินการตามกิจกรรม โดยได้จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณแบบมีส่วนร่วม เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการประชุมหารือกับ สงม. ต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำข้อมูลกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบ และแนวทางในการนำระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมมาใช้ในระบบงบประมาณกรุงเทพมหานคร โดยผ่านการพิจารณาร่วมกันระหว่าง สยป. และ สงม. เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน จำนวน 1 ฉบับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

หลักเกณฑ์รูปแบบในการนำระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วม หมายถึง แนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การสร้างระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมที่ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการวางแผนตัดสินใจการใช้งบประมาณ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

หลักเกณฑ์รูปแบบในการนำระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมมาใช้ในระบบงบประมาณกรุงเทพมหานคร

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
:๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล
:๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง%
:๕.๒.๑.๑ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน “สภาประชาชนกรุงเทพมหานคร”

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง