รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการบูรณาการเครือข่ายและการสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ : 2100-2082

ค่าเป้าหมาย ระดับความสำเร็จ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับความสำเร็จ :

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับความสำเร็จ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

๑. ความสำเร็จของการส่งเสริมการบูรณาการเครือข่ายและการสร้างการมีส่วนร่วม หมายถึง การผลักดันใหเครือข่ายคนพิการระดับกลุมเขต มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำแผน ตั้งแต่การกำหนดประเด็น โครงการ เสนอแนะ ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในพื้นที่ 2. คนพิการ หมายถึง บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 3. ประเภทของความพิการ แบ่งออกตามความบกพร่อง 7 ประเภท ได้แก่ (1) การมองเห็น (2) การได้ยินหรือสื่อความหมาย (3) การเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย (4) ทางจิตใจหรือพฤติกรรม (5) ทางสติปัญญา (6) ทางการเรียนรู้ และ (7) ออทิสติก ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ หมายถึง คนพิการได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพตามความต้องการ 6 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านสุขภาพ (2) ด้านเศรษฐกิจ (3) ด้านสังคม (4) ด้านการศึกษา (5) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และ (6) ด้านอื่น ๆ หรืออาจกำหนดชื่อเรียกเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ตรวจสอบผลการดำเนินงานเทียบกับระดับความสำเร็จ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

๑. ทะเบียนเครือข่ายประชาสังคมฯ ๒. รายงานสรุปผลความต้องการ 6 ด้าน จากเครือข่ายประชาสังคมฯ เพื่อกำหนดประเด็นสำคัญที่ต้องการให้กรุงเทพมหานครดำเนินการ/สนับสนุนในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๓. ร่างแผนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 4. แผนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการระดับ กลุ่มเขต ทั้ง 6 กลุ่มเขต 5. แผนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการกรุงเทพมหานคร 6. หนังสือขอความเห็นชอบใช้แผนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการกรุงเทพมหานคร 7. หลักฐานอื่น ๆ เช่น ภาพถ่ายการดำเนินการ เป็นต้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง