รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 2200-1019

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00
95
95 / 100
2
25.00
0
0 / 0
3
60.00
0
0 / 0
4
100.00
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการรวบรวมฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการรวบรวมฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการรวบรวมฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดทำและนำเข้าฐานข้อมูลในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 5.2 (http://one.bangkok.go.th/bma5.2/) จำนวน 20 ฐานข้อมูล แบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ - ด้านขยะมูลฝอย 8 ฐานข้อมูล - ด้านพื้นที่สีเขียว 8 ฐานข้อมูล - ด้านอากาศและเสียง 2 ฐานข้อมูล - ด้านพลังงาน 2 ฐานข้อมูล

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความสำเร็จในการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ) แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

แนวทางการประเมินผลพิจารณาการดาเนินงานของหน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ส่วนประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ. 2563 คือ ความสมบูรณ์ของการนำเข้าข้อมูล และเชื่อมโยงระบบย่อยของหน่วยงาน 1.1 ความครบถ้วนและความถูกต้องในการนาเข้าข้อมูล 1.2 การนาเข้าข้อมูลในระบบภายในกาหนด ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการการพิจารณาให้คะแนนจะพิจารณาจากผลการดำเนินงานทั้งส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 รวมกัน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตรวจสอบผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๔ มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง