ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจจับรถยนต์ควันดำ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง พฤศจิกายน 2565 รายละเอียดดังนี้ 1. ร่วมกับสำนักงานเขตดำเนินการตรวจควันดำในสถานที่ต้นทาง รวมทั้งสิ้น 1,256 คัน เกินค่ามาตรฐาน 10 คัน มีคำสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 2. ร่วมกับ บก.จร คพ. และขบ. ดำเนินการตรวจจับรถยนต์ปล่อยควันดำ รวมทั้งสิ้น 47,734 คัน เกินค่ามาตรฐาน 1,082 คัน มีคำสั่งห้ามใช้ 3. ร่วมกับ ขบ. ดำเนินการตรวจรถโดยสารประจำทาง/ไม่ประจำทาง รวมทั้งสิ้น 7,512 คัน เกินค่ามาตรฐาน 35 คัน มีคำสั่งห้ามใช้ 4. ร่วมกับ ขบ. ดำเนินการตรวจรถบรรทุก รวมทั้งสิ้น 24,965 คัน เกินค่ามาตรฐาน 101 คัน มีคำสั่งห้ามใช้
ผลการตรวจแหล่งกำเนิดมลพิษ สะสมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 - 28 กุมภาพันธ์ 2566 ดังนี้ 1. สถานประกอบการ/โรงงาน มีจำนวน 1,052 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 5,512 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 8 แห่ง 2. แพลนท์ปูน มีจำนวน 133 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 667 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 17 แห่ง 3. สถานที่ก่อสร้าง ประกอบด้วย 1) ตรวจโดยสำนักงานเขต มีจำนวน 277 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 1,100 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 27 แห่ง 2) ตรวจโดยสำนักการโยธา 399 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 392 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 1 แห่ง 4. ถมดิน/ท่าทราย มีจำนวน 9 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 81 ครั้ง 5. ตรวจควันดำในสถานที่ต้นทาง ดำเนินการตรวจสอบ 1,569 คัน ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 10 คัน 6. ตรวจจับรถยนต์ปล่อยควันดำ ร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจร กรมควบคุมมลพิษ และกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 60,270 คัน ออกคำสั่งห้ามใช้ 1,265 คัน 7. ตรวจรถโดยสารประจำทาง/ไม่ประจำทาง โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 11,782 คัน พ่นห้ามใช้ 56 คัน 8. ตรวจรถบรรทุก โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 39,272 คัน พ่นห้ามใช้ 191 คัน
ผลการตรวจแหล่งกำเนิดมลพิษ สะสมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 31 พฤษภาคม2566 ดังนี้ 1. สถานประกอบการ/โรงงาน มีจำนวน 912 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 8,214 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 8 แห่ง 2. แพลนท์ปูน มีจำนวน 122 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 1,134 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 17 แห่ง 3. สถานที่ก่อสร้าง 3.1 สถานที่ก่อสร้างที่ตรวจโดยสำนักงานเขต มีจำนวน 239 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 1,704 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข30 แห่ง 3.2 สถานที่ก่อสร้างที่ตรวจโดยสำนักการโยธา 399 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 392 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 1 แห่ง 4.ถมดิน/ท่าทราย มีจำนวน 24 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 144 ครั้ง 5.ตรวจควันดำในสถานที่ต้นทาง ดำเนินการตรวจสอบ 2,067 คัน ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 16 คัน 6. ตรวจจับรถยนต์ปล่อยควันดำ ร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจร กรมควบคุมมลพิษ และกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 86,111 คัน ออกคำสั่งห้ามใช้ 1,734 คัน 7. ตรวจรถโดยสารประจำทาง/ไม่ประจำทาง โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 19,862 คัน พ่นห้ามใช้ 73 คัน 8. ตรวจรถบรรทุก โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 60,204 คัน พ่นห้ามใช้ 329 คัน
ผลการตรวจแหล่งกำเนิดมลพิษ สะสมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 31 พฤษภาคม2566 ดังนี้ 1. สถานประกอบการ/โรงงาน มีจำนวน 912 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 8,214 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 8 แห่ง 2. แพลนท์ปูน มีจำนวน 122 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 1,134 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 17 แห่ง 3. สถานที่ก่อสร้าง 3.1 สถานที่ก่อสร้างที่ตรวจโดยสำนักงานเขต มีจำนวน 239 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 1,704 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข30 แห่ง 3.2 สถานที่ก่อสร้างที่ตรวจโดยสำนักการโยธา 399 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 392 ครั้ง ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 1 แห่ง 4.ถมดิน/ท่าทราย มีจำนวน 24 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบ 144 ครั้ง 5.ตรวจควันดำในสถานที่ต้นทาง ดำเนินการตรวจสอบ 2,067 คัน ไม่ผ่านและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไข 16 คัน 6. ตรวจจับรถยนต์ปล่อยควันดำ ร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจร กรมควบคุมมลพิษ และกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 86,111 คัน ออกคำสั่งห้ามใช้ 1,734 คัน 7. ตรวจรถโดยสารประจำทาง/ไม่ประจำทาง โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 19,862 คัน พ่นห้ามใช้ 73 คัน 8. ตรวจรถบรรทุก โดยกรมการขนส่งทางบก เรียกตรวจสอบ 60,204 คัน พ่นห้ามใช้ 329 คัน
น1. แหล่งกำเนิดมลพิษ หมายถึง การก่อสร้างอาคารของโครงการด้านอาคาร และบริการชุมชน ที่ได้รับความเห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) 2. การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ หมายถึง การกำกับดูแลให้โครงการฯ นำส่งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน Monitor) หรือการติดตามตรวจสอบเพื่อควบคุมกำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรการฯ หรือการลงพื้นที่สุ่มตรวจการปฏิบัติตามมาตรการฯ ของโครงการด้านอาคาร และบริการชุมชน ที่ได้รับความเห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ในระยะก่อสร้าง อย่างใดอย่างหนึ่ง
ผลสำเร็จ (ร้อยละ) ตามเป้าหมายที่กำหนดของโครงการ คูณ 100 หารด้วย จำนวนโครงการทั้งหมด
รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีกลไกการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่มีความยั่งยืน โปร่งใส และประสิทธิภาพสูง% |
:๒.๑.๑.๑ ป้องกันและลดแหล่งกำเนิดมลพิษ |