รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของจุดลักลอบทิ้งมูลฝอย การทิ้งนอกจุด/เวลาที่กำหนด ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเทียบกับจำนวนจุดทิ้งมูลฝอยทั้งหมด : 2200-1056

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 20

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.สำนักงานเขตมีการประชาสัมพันธ์จุดทิ้งหรือจุดรวบรวม ช่วงเวลาการทิ้งและจัดเก็บให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และได้มีการจัดชุดเร่งด่วนเพื่อเข้าจัดเก็บขยะที่ทิ้งนอกจุด/หรือนอกช่วงเวลาที่กำหนด 2. จัดทีมพัฒนาเพื่อจัดเก็บขยะบริเวณที่ว่างที่รกร้าง ที่สามารถเข้าดำเนินการได้ 3.กำหนดวันจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่เพื่อป้องกัน และแก้ไขการนำขยะชิ้นใหญ่มาวางกอง ทิ้งบริเวณที่ว่าง หรือทิ้งลงน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.สำนักงานเขตมีการประชาสัมพันธ์จุดทิ้งหรือจุดรวบรวม ช่วงเวลาการทิ้งและจัดเก็บให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และได้มีการจัดชุดเร่งด่วนเพื่อเข้าจัดเก็บขยะที่ทิ้งนอกจุด/หรือนอกช่วงเวลาที่กำหนด 2. จัดทีมพัฒนาเพื่อจัดเก็บขยะบริเวณที่ว่างที่รกร้าง ที่สามารถเข้าดำเนินการได้ 3.กำหนดวันจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่เพื่อป้องกัน และแก้ไขการนำขยะชิ้นใหญ่มาวางกอง ทิ้งบริเวณที่ว่าง หรือทิ้งลงน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.สำนักงานเขตมีการประชาสัมพันธ์จุดทิ้งหรือจุดรวบรวม ช่วงเวลาการทิ้งและจัดเก็บให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และได้มีการจัดชุดเร่งด่วนเพื่อเข้าจัดเก็บขยะที่ทิ้งนอกจุด/หรือนอกช่วงเวลาที่กำหนด 2. จัดทีมพัฒนาเพื่อจัดเก็บขยะบริเวณที่ว่างที่รกร้าง ที่สามารถเข้าดำเนินการได้ 3.กำหนดวันจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่เพื่อป้องกัน และแก้ไขการนำขยะชิ้นใหญ่มาวางกอง ทิ้งบริเวณที่ว่าง หรือทิ้งลงน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.สำนักงานเขตมีการประชาสัมพันธ์จุดทิ้งหรือจุดรวบรวม ช่วงเวลาการทิ้งและจัดเก็บให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และได้มีการจัดชุดเร่งด่วนเพื่อเข้าจัดเก็บขยะที่ทิ้งนอกจุด/หรือนอกช่วงเวลาที่กำหนด 2. จัดทีมพัฒนาเพื่อจัดเก็บขยะบริเวณที่ว่างที่รกร้าง ที่สามารถเข้าดำเนินการได้ 3.กำหนดวันจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่เพื่อป้องกัน และแก้ไขการนำขยะชิ้นใหญ่มาวางกอง ทิ้งบริเวณที่ว่าง หรือทิ้งลงน้ำ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

“มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์หรือซากสัตว์รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรายจากชุมชน “จุดทิ้งมูลฝอย” หมายความว่า บริเวณที่กำหนดให้เป็นที่ทิ้งมูลฝอยหรือตั้งถังรองรับมูลฝอยสำหรับรอการเก็บขนเพื่อนำไปกำจัด “เวลาที่กำหนด” หมายความว่า เวลาที่สำนักงานเขตออกประกาศกำหนดวัน เวลาเก็บขนมูลฝอย “การลักลอบทิ้งมูลฝอย” หมายความว่า การทิ้ง มูลฝอยในบริเวณที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นจุดทิ้งมูลฝอยหรือการทิ้งมูลฝอยนอกเวลาที่สำนักงานเขตกำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ C=(A-B) x 100 / B A = จำนวนจุดลักลอบทิ้งมูลฝอย การทิ้งนอกจุด/เวลาที่กำหนด ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องในปีงบประมาณ 2566 B = จำนวนจุดลักลอบทิ้งมูลฝอย การทิ้งนอกจุด/เวลาที่กำหนด ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องในปีงบประมาณ 2566 C = ร้อยละของจำนวนจุดลักลอบทิ้งมูลฝอย การทิ้งนอกจุด/เวลาที่กำหนด ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและระบบรายงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง%
:๒.๑.๓.๒ การจัดการมูลฝอยกลางทางอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง