ค่าเป้าหมาย เขตละ...เส้นทาง : 5
ผลงานที่ทำได้ เขตละ...เส้นทาง : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
กำหนดแนวทางการดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยเศษอาหาร แยกจากมูลฝอยทั่วไป ตามโครงการไม่เทรวม
ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยเศษอาหาร แยกจากมูลฝอยทั่วไป ตามโครงการไม่เทรวมโครงการไม่เทรวม ให้กับผู้แทนฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะทั้ง 50 สำนักงานเขต
สำนักงานเขตจัดเก็บขยะเศษอาหาร ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย แยกจากขยะทั่วไป โดยวางถังสำหรับใส่ขยะแยกประเภทที่ช่องตะแกรงหลังคนขับ
สำนักงานเขตจัดเก็บขยะเศษอาหาร ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย แยกจากขยะทั่วไป โดยวางถังสำหรับใส่ขยะแยกประเภทที่ช่องตะแกรงหลังคนขับ
“มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น ประเภทมูลฝอย มี 4 ประเภท - มูลฝอยอินทรีย์ เป็นสิ่งที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น เศษอาหาร ผัก ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ เป็นต้น - มูลฝอยรีไซเคิล เป็นสิ่งที่ยังมีประโยชน์สามารถนำไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครื่องดื่ม เป็นต้น - มูลฝอยอันตราย เป็นสิ่งที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนสารอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ เป็นต้น - มูลฝอยทั่วไป หมายถึง สิ่งอื่นๆนอกเหนือจากข้างต้น อาจนำมาใช้ใหม่ได้ แต่ย่อยสลายยาก เช่น เศษผ้า ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป พลาสติกห่อขนม เป็นต้น
จำนวนเส้นทางที่มีการเก็บขนมูลฝอยแยกประเภทของสำนักงานเขต
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและระบบรายงาน
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
:๒.๑.๓.๒ การจัดการมูลฝอยกลางทางอย่างมีประสิทธิภาพ |