รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน : 2200-1062

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 97.61

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
94.76

0 / 0
3
97.19
100
100 / 100
4
97.61
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 10,082 ข้อมูล จากการตรวจวัด 10,639 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 94.76 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 1,037 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,247 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 83.16 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 4,762 ครั้ง จากการตรวจวัด 5,085 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 93.65 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 2,160 ครั้ง จากการตรวจวัด 2,184 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 98.90 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 2,123 ครั้ง จากการตรวจวัด 2,213 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน เดือนเมษายน-พฤษภาคม 2566 จำนวน 5,325 ข้อมูล จากการตรวจวัด 5,479 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 97.19 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 542 ครั้ง จากการตรวจวัด 543 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 99.82 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 1,926 ครั้ง จากการตรวจวัด 2,067 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 93.18 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 1,445 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,457ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 99.18 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 1,412 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,412 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละของคุณภาพอากาศที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (พื้นที่ทั่วไป) เดือนตุลาคม 2565 - 10 กันยายน2566 จำนวน 36,062 ข้อมูล จากการตรวจวัด 36,945 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 97.61 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 2,847 ครั้ง จากการตรวจวัด 2,880 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 98.85 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 10,906 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,651 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 63.61 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 11,128 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,233 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 99.07 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 11,181 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,181 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ข้อมูลคุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน หมายถึง พารามิเตอร์ ดังต่อไปนี้ - ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)ในเวลา 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร - ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในเวลา 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร - ค่าเฉลี่ยของก๊าซโอโซน (O3) ในเวลา 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 ส่วนในพันล้านส่วน - ค่าเฉลี่ยของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ในเวลา 1 ชั่วโมง ไม่เกิน 170 ส่วนในพันล้านส่วน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ - จำนวนข้อมูลคุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน / จำนวนข้อมูลคุณภาพอากาศที่ตรวจวัดได้ทั้งหมด x 100 - จำนวนค่าเฉลี่ยของผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ตรวจวัดผ่านเกณฑ์มาตรฐาน หารด้วยจำนวนเฉลี่ยของผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ตรวจวัดได้ทั้งหมดคูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลเฉลี่ยของผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
:๒.๑.๔ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการจัดการคุณภาพอากาศให้ได้มาตรฐาน%
:๒.๑.๔.๑ บริหารจัดการเชิงพื้นที่ให้คุณภาพอากาศได้มาตรฐาน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง