ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2562) 1. ศึกษาข้อมูลและหลักเกณฑ์การดำเนินการ 2. รอแนวทางการดำเนินการจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3. อยู่ระหว่างการคัดเลือกข้อมูลจากภารกิจหลักของ สวท. เพื่อจัดเตรียมข้อมูลเข้าประชุมร่วมกับ สยป.
การดำเนินการมี 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอน ที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลัก มาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 (ต.ค.2562 – มี.ค.2563) 1. ศึกษาข้อมูลและหลักเกณฑ์การดำเนินการ 2. รับฟังแนวทางการดำเนินการจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3. การคัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และรับฟังการประชุมชี้แจงจาก สยป. 4. ทบทวนข้อมูลตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 5. คัดเลือกข้อมูลและจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล 6. อยู่ระหว่างคณะกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของ สยป. พิจารณาผล
-การดำเนินการตัวชี้วัดที่ 4.1 มีการดำเนินการ 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอน ที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลัก มาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 (ต.ค. 2562 – มิ.ย. 2563) ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ขั้นตอนที่ 1 สวท. ได้ดำเนินการแล้ว โดยได้ทบทวนสถานะข้อมูลตามภารกิจหลักของ สวท. ด้านวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (2561 – 2565) จำนวนทั้งสิ้น 33 ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 2 สวท ได้นำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 มาจัดลำดับความสำคัญและพัฒนาฐานข้อมูล คิดเป็นจำนวน 1 ฐานข้อมูล เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 3 สวท ได้จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล และส่ง สยป. ภายในเดือน ม.ค. 2563 เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 5 นำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 และปรับปรุงข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงรายเดือนเป็นประจำทุกเดือน
- การดำเนินการตัวชี้วัดที่ 4.1 มีการดำเนินการ 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอน ที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลัก มาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 - ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 (1 ต.ค. 2562 – 30 ก.ย. 2563) ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ขั้นตอนที่ 1 สวท. ได้ดำเนินการแล้ว โดยได้ทบทวนสถานะข้อมูลตามภารกิจหลักของ สวท. ด้านวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (2561 – 2565) จำนวนทั้งสิ้น 22 ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 2 สวท. ได้นำข้อมูลประกอบตัวชี้วัดระดับเมือง ตามขั้นตอนที่ 1 มาจัดลำดับความสำคัญและพัฒนาฐานข้อมูล คิดเป็นจำนวน 1 ฐานข้อมูล (จำนวน 22 ตัวชี้วัด) เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 3 สวท. ได้จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดระดับเมือง และส่ง สยป. ภายในเดือน ม.ค. 2563 เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดระดับเมือง จำนวน 22 ตัวชี้วัด และจัดเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 5 นำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองในระบบบันทึกฐานข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงรายเดือนเป็นประจำทุกเดือน เรียบร้อยแล้ว ประกอบด้วย ข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำนวน 22 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. table 1_45 BMI (ตารางร้อยละของชาว กทม. มีดัชนีมวลการ (BMI) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน) 2. table thai strong (ตารางร้อยละของชาว กทม. ออกกำลังกายตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง) 3. table promote fiscalyear63 (จำนวนครั้งในการ ปชส. การให้บริการกีฬาและนันทนาการของ กทม./ปี) 4. table 1_48 construction (ร้อยละของความสำเร็จเฉลี่ยในการก่อสร้าง/ปรับปรุงสถานบริการกีฬาและนันทนาการ) 5. table 1_48 join activity (จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของ กทม. เพิ่มขึ้นต่อปี) 6. table 1_49 standard (ร้อยละของผู้ใช้บริการในสถานที่บริการด้านกีฬาของกรุงเทพมหานครมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน) 7. table 1_50 amount sport (จำนวนการจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการที่มีความหลากหลายและสอดคล้อง) 8. table 1_51 sport match (จำนวนครั้งในการจัดการการแข่งขันกีฬาหรือส่งนักกีฬาตัวแทนกรุงเทพมหานครเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ/หรืออาชีพต่อปี) 9. table 1_52 scholarship (จำนวนทุนการศึกษาที่ กทม. มีให้กับผู้ที่มีความสามารถโดเด่นด้านกีฬาและนันทนาการ) 10 table 2_1 seminar (ระดับความพึงพอใจของหน่วยงานที่จัดประชุมและนิทรรศการต่อการให้การสนับสนุนของกรุงเทพมหานคร) 11 table 2_4 system (กรุงมหานครมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการท่องเที่ยว) 12 table 2_5 tourist (จำนวนแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาให้ได้มาตรฐาน) 13 table 3_1 plurality2 (จำนวนชุดข้อมูลความรู้ด้านพหุวัฒนธรรมในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนา) 14 table 3_2 museum (จำนวนชุดนิทรรศการที่จัดแสดงในแหล่งเรียนรู้ดานวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น) 15 table 3_3 plurality (่จำนวนเครือข่ายด้านพหุวัฒนธรรมที่มีในกรุงเทพมหานคร) 16. 4_11 leaning library (จำนวนเขตที่มีการสำรวจความต้องการ การเรียนรู้ตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกันความต้องการประชาชน) 17. 4_12 leaning act (จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร) 18. 4_13 leaning satisfaction (ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการเรียนรู้ตามอัธยาศัย) 19. 4_4 plurality media (จำนวนช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครอย่างหลากหลายช่องทาง) 20. 4_1 tourist satisfaction safety (ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อความปลอดภัย) 21. 4_2 tourist satisfaction service (ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการด้านการท่องเที่ยว) 22. 4_3 tourist media (จำนวนช่องทางในการเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยว/ข้อมูลต่างๆ ด้านการท่องเที่ยว ทั้งในและต่างประเทศ)
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการเก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดจะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
- การดำเนินการมี 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอน ที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลัก มาจัดลำดับความสำคัญและและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 - การดำเนินการต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด และตามลำดับขั้นตอนโดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
- การดำเนินการมี 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอน ที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 - การดำเนินการต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด และตามลำดับขั้นตอนโดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |