รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

6641_จุดเด่นทางวัฒนธรรม ของกรุงเทพมหานครได้รับการสำรวจหรือค้นหา : 2300-906

ค่าเป้าหมาย กลุ่มเขต : 6

ผลงานที่ทำได้ กลุ่มเขต : 6

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กลุ่มเขต)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
3.00

0 / 0
4
6.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. กิจกรรมสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมเพื่อคัดเลือกวัฒนธรรมที่โดดเด่นของกรุงเทพมหานคร - ไม่ใช้งบประมาณ (สธท. (ส่วนวัฒนธรรม)) - ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลและแก้ไขข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 6 กลุ่มเขต ที่ได้รับการคัดเลือก 1. เทศกาลตรุษจีน กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง 2. ประเพณีอัฐมีบูชา วัดด่าน กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ 3. ประเพณีชักพระวัดเซิงหวาย กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ 4. โขนสด กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก 5. กระตั้วแทงเสือฝั่งธนบุรี กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ 6. ภูมิปัญญาการจัดการระบบนิเวศน์คลองบางมด กลุ่มเขตกรุงธนใต้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

๑. กิจกรรมสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมเพื่อคัดเลือกวัฒนธรรมที่โดดเด่นของกรุงเทพมหานคร - ไม่ใช้งบประมาณ (สธท. (ส่วนวัฒนธรรม)) - ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลและแก้ไขข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 6 กลุ่มเขต ที่ได้รับการคัดเลือก 1. เทศกาลตรุษจีน กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง 2. ประเพณีอัฐมีบูชา วัดด่าน กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ 3. ประเพณีชักพระวัดเซิงหวาย กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ 4. โขนสด กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก 5. กระตั้วแทงเสือฝั่งธนบุรี กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ 6. ภูมิปัญญาการจัดการระบบนิเวศน์คลองบางมด กลุ่มเขตกรุงธนใต้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ดำเนินการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 3 กลุ่มเขต ที่ได้รับการคัดเลือก ดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลความรู้พหุวัฒนธรรมผ่านเฟซบุ๊ก ในรูปแบบ Infographic จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1. ภูมิปัญญาการจัดการระบบนิเวศคลองบางมด ชุมชนคลองบางมด เขตทุ่งครุ และเขตบางขุนเทียน กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 2. เทศกาลตรุษจีน ย่านเยาวราช เขตสัมพันธวงศ์ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง 3. โขนสด กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 6 กลุ่มเขต ที่ได้รับการคัดเลือก โดยนำเสนอในรูปแบบ Infographic เผยแพร่ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ ส่วนวัฒนธรรม เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 1. เทศกาลตรุษจีน กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง 2. ประเพณีอัฐมีบูชา วัดด่าน กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ 3. ประเพณีชักพระวัดเซิงหวาย กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ 4. โขนสด กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก 5. กระตั้วแทงเสือฝั่งธนบุรี กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ 6. ภูมิปัญญาการจัดการระบบนิเวศน์คลองบางมด กลุ่มเขตกรุงธนใต้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- การสำรวจหรือค้นหา หมายถึง การประชุมหารือและประสานงานกับกลุ่มเขตเพื่อคัดเลือกวัฒนธรรมที่โดดเด่น มีความเป็นสำคัญ เป็นเอกลักษณ์ และเป็นที่ยอมรับของประชาชน กลุ่มเขตละ 1 พหุวัฒนธรรม - จุดเด่นทางวัฒนธรรม หมายถึง วัฒนธรรมที่มีความเป็นมายาวนานและเป็นที่ยอมรับปฏิบัติสืบต่อกันมาจนกลายเป็นอัตลักษณ์เฉพาะถิ่น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจากวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครที่มีความโดดเด่นที่ได้รับการสำรวจ ค้นหาจากกลุ่มเขตทั้ง 6 กลุ่มเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. หนังสือประสานงานประธานกลุ่มเขต เพื่อสำรวจ ค้นหา วัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครที่มีความโดดเด่น เช่น หนังสือเชิญประชุม หนังสือขอความอนุเคราะห์ หนังสือเชิญร่วมงาน รายงานการประชุม ฯลฯ 2. ทะเบียนรายชื่อพหุวัฒนธรรมในสำนักงานเขต/กลุ่มเขต

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๓ –การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
:๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม
:๓.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร%
:๓.๔.๑.๑ สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพหุวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง