รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลของแรงงานนอกระบบ : 2400-0945

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 2

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายวินจักรยานยนตฺ์รับจ้างของกลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 เขตเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายวินจักรยานยนตฺ์รับจ้างของกลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 เขตเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายวินจักรยานยนตฺ์รับจ้างของกลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 เขตเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายวินจักรยานยนตฺ์รับจ้างของกลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 เขตเสร็จเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน (ตามกฎหมายประกันสังคม และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541) (ที่มา : กระทรวงแรงงาน) แรงงานนอกระบบเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งที่ กรุงเทพมหานครต้องให้ความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากลุ่มแรงงานที่อยู่ในระบบ เนื่องจากเป็นแรงงานที่ทำงานอิสระ ไม่มีสัญญาการจ้างงาน จึงไม่ได้รับการคุ้มครองในระบบการประกันสังคมและสวัสดิการ แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่มีรายได้ไม่แน่นอน มีทักษะฝีมือในระดับล่าง ขาดโอกาสที่เพียงพอในการเข้าถึงองค์ความรู้ ทรัพยากร แหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ ส่งผลให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคม สำนักงานสถิติแห่งชาติ จำแนกประเภทของแรงงานนอกระบบได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มที่ทำงานรับจ้างและมีรายได้ประจำ/หรือไม่ประจำ ได้แก่ แรงงานที่รับจ้างเอางานไปทำที่บ้าน แรงงานรับจ้างทำของ แรงงานรับจ้างทำการเกษตรตามฤดูกาล แรงงานประมง คนรับใช้ และคนทำงานบ้าน คนขับรถ (ส่วนตัวตามบ้าน) เป็นต้น 2) กลุ่มที่ทำอาชีพอิสระทั่วไป ได้แก่ คนขับรถรับจ้าง เกษตรกร ชาวนา ชาวสวน แม่ค้า หาบเร่ แผงลอย ช่างเสริมสวย ช่างตัดผม เจ้าของร้านขายของชำขนาดเล็ก เป็นต้น จากผลการสำรวจข้อมูลแรงงานนอกระบบในไตรมาสที่ 3 ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน พ.ศ. 2559 โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่ากรุงเทพมหานครมีแรงงานนอกระบบ จำนวน 1,481,600 คน จากจำนวนผู้มีงานทำทั้งหมด 5,214,400 คน - แรงงานนอกระบบในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่ทำงานในอุตสาหกรรมการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์ โดยมีจำนวนถึง 519,451 คน รองลงมาทำงานในอุตสาหกรรมที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 361,162 คน และอุตสาหกรรมการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าฯ 164,703 คน ตามลำดับ - ลักษณะอาชีพของแรงงานนอกระบบในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 790,466 คน รองลงมาคือ ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร 203,233 คน ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถ ทางฝีมือ 149,761 คน ผู้บัญญัติกฎหมายและ ผู้จัดการ 118,273 คน ตามลำดับ- สถานภาพการทำงานของแรงงานนอกระบบในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจส่วนตัว 927,485 คน รองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 306,369 คน และเป็นนายจ้าง 197,687 คน 2. ระดับความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลของแรงงานนอกระบบ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับ 1 หมายถึง มีการดำเนินการในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ แล้วเสร็จ ได้แก่ มีการกำหนดรูปแบบ องค์ประกอบของฐานข้อมูล กำหนดเรื่อง/ชุดข้อมูลที่ต้องการสำรวจและจัดเก็บ แหล่งข้อมูล ระดับ ๒ หมายถึง การดำเนินการในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ แล้วเสร็จ ได้แก่ การสำรวจและจัดเก็บข้อมูลของแรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด รวมถึงการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ ระดับ 3 หมายถึง การดำเนินการในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ แล้วเสร็จ ได้แก่ มีการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
:๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง%
:๓.๒.๑.๑ แรงงานนอกระบบทราบสิทธิทางสวัสดิการสังคมและแหล่งเงินก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด