รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของหลักสูตรวิชาชีพที่เปิดสอนเป็นหลักสูตรใหม่ : 2400-1123

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 5

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00
95
95 / 100
3
100.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ได้รับอนุมัติหลักสูตรวิชาสั้นแบบฐานสมรรถนะ จำนวน 39 หลักสูตร เมือวันที่ 16 ม.ค.66 และอยู่ระหว่างดำเนินการ จัดทำหลักสูตรแม่บ้านการโรงแรม ระดับ 1 โดยร่วมกับสมาคมโรงแรมไทย และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ได้รับอนุมัติหลักสูตรวิชาสั้นแบบฐานสมรรถนะ จำนวน 39 หลักสูตร เมือวันที่ 16 ม.ค.66 และอยู่ระหว่างดำเนินการ จัดทำหลักสูตรแม่บ้านการโรงแรม ระดับ 1 โดยร่วมกับสมาคมโรงแรมไทย และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นแบบฐานสมรรถนะ จำนวน 39 หลักสูตร เมื่อวันที่ 16 ม.ค.66 และเวียนให้ ศูนย์ฝึกอาชีพในสังกัดสำนักงานเขต จำนวน 11 แห่ง และศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 5 แห่ง นำไปใช้ทำการเรียนการสอน 2. หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นแบบฐานสมรรถนะ หลักสูตรพนักงานแม่บ้านโรงแรมระดับต้น ๕๔ ชั่วโมง เมื่อวันที่ 7 เม.ย.66 เปิดเรียนตั้งแต่วันที่ 16 พ.ค.66 ณ โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

หลักสูตรที่เปิดสอน หมายถึง หลักสูตรวิชาชีพที่เปิดสอนในโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ทั้ง 10 แห่ง หลักสูตรที่ตรงตามความต้องการของตลาดงาน หมายถึง การสร้างหลักสูตรวิชาชีพใหม่ ที่มีกระบวนการสร้างความร่วมมือระหว่าง สำนักพัฒนาสังคม กับ หน่วยงานภาครัฐ หรือ สถาบันการศึกษา และผู้ประกอบการภาคเอกชน ฯลฯเพื่อกำหนดหลักสูตร องค์ความรู้ หรือทักษะที่จำเป็นและตรงความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน หลักสูตรวิชาชีพ หมายถึง เป็นหลักสูตรที่เปิดสอนในโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง ซึ่งปัจจุบันมีการเปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 137 หลักสูตร (ภาคเรียนที่ 3/2564) หลักสูตรวิชาชีพที่เปิดสอนใหม่ตอบโจทย์ตลาดงาน หมายถึง การสร้างหลักสูตรวิชาชีพใหม่ ที่มีกระบวนการสร้างความร่วมมือระหว่าง สำนักพัฒนาสังคม กับ หน่วยงานภาครัฐ หรือ สถาบันการศึกษา และผู้ประกอบการภาคเอกชน ฯลฯ เพื่อกำหนดหลักสูตร องค์ความรู้ หรือทักษะที่จำเป็นและตรงความต้องการของตลาดแรงงาน ในปัจจุบัน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนวิชาชีพหลักสูตรใหม่ที่เกิดจากความร่วมมือฯ x 100 จำนวนวิชาชีพทั้งหมดที่เปิดสอนในโรงเรียนฝีกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๓ –การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางสังคม
:๓.๒.๒ ระบบการพัฒนาอาชีพและสวัสดิการ%
:๓.๒.๒.๒ มีการสนับสนุนให้แรงงานนอกระบบมีอาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง